ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมหาร วาระวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 11) ปี 2563
18 สังเกตในต้นฉบับภาษาจีนได้มีการกล่าวเพียงว่า “ในการตรวจสอบคำสอนว่านเป็นคำสอนดังเดิมหรือไม่นั้น ให้ตรวจสอบว่ามีความสอดคล้องกับพระดำรัสของพระศาสดาหรือไม่” แต่ในฉบับแปลจีน block ได้มีการกล่าวเพิ่มเติมว่า “ถ้ามีความสมเหตุสมผล ก็สามารถพิพากษาได้ว่าเป็นคำสอนของพระศาสนู้นี” และเมื่อเป็นเช่นนี้ กระแสความคิดเห็นในเรื่องดังกล่าวจึงค่อย ๆ เพิ่มขึ้นไปตามลำดับ
จนกระทั่งขยายไปสู่แนวความคิดว่า “แม้จะไม่ได้การบันทึกในพระสูตรตั้งแต่เดิมก็ตาม แต่ถ้ามีความสมเหตุสมผลและสอดคล้องกับคำสอนของพระศาสนู้นีแล้ว ก็สามารถกล่าวได้ว่าเป็นคำสอนในพระพุทธศาสนาได้เช่นกัน” ซึ่งในจุดนี้เอง หากเราจะกล่าวว่าเป็นจุดพลิกผันครั้งใหญ ก็อาจจะไม่ผิดอะไร และในเวลานั้นเอง ประตูทุกบานที่เปิดไปสู่ “พระพุทธศาสนาหายาน” จึงได้เปิดออกพร้อม ๆ กัน
นักศึกษา : แม้จะเป็นเช่นนี้ก็ตาม แต่กลุ่มบุคคลที่ให้นิยาม “พระพุทธศาสนาหายาน” รู้สึกอย่างไรกับการยืนยันแนวคำสอนที่แตกต่างไปจากที่มีมาแต่ดั้งเดิม มีความทะเยอทะยาน19 หรือแผนการไม่ดี20 ที่จะต่อต้านคำสอนของพระศาสนู้นีรีหรือไม่ครับ ?
การท่องสวดอยู่บราบถึงทุกวันนี้
18 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 漢文 (kanbun) เป็นภาษาจีนที่ในสมัยโบราณ สำหรับคำภีร์พระพุทธศาสนา ได้พระอภิญญูมีความรู้ความสามารถอธิ พระญาฤทธิ (鳳摩羅什 kumaraju) พระเสลียนจัง(玄奘 genjō) แปลคัมภีร์จากภาษาสันสกฤตมาตามภาษาจีนโบราณ ซึ่งฉบับแปลจีนโบราณนี้ไม่ใช่เฉพาะคำมีในฝ่าย “พระพุทธศาสนาหายาน” เท่านั้น แต่ยังมีคำศัพท์ที่สืบทอดมาตั้งแต่ “พระพุทธศาสนาของพระศาสนู้นี” มาจึงค้นคว้าร่วมไปในฝ่าย “พระพุทธศาสนายุคแบ่งนิยาย” อีกด้วย
19 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 野心 (yashin)
20 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 惡巧 (warudakumi)