พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้า ถึงมีความหลากหลาย (2) พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (2) หน้า 19
หน้าที่ 19 / 37

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความหลากหลายของคำสอนในพระพุทธศาสนามหายาน โดยเฉพาะการที่กลุ่มต่างๆ อ้างถึงคำสอนที่ถือว่าเป็นคำสอนแท้จริงของพระพุทธเจ้าจากประสบการณ์ทางศาสนา. จึงเกิดความเชื่อมั่นในแนวคิดเหล่านี้ รวมถึงการหารือเกี่ยวกับที่มาของพระพุทธศาสนามหายานว่าเกี่ยวข้องออย่างไรกับการแบ่งนิยกาย โดยนักศึกษาและอาจารย์นำเสนอมุมมองที่ให้เห็นถึงวงจรการเรียนรู้และความเชื่อในคำสอน.

หัวข้อประเด็น

-ความหลากหลายของคำสอน
-พระพุทธศาสนามหายาน
-ประสบการณ์ทางศาสนา
-บทบาทของพระศากยมุนี
-แนวคิดและความเชื่อในกลุ่มผู้ปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระพุทธศาสนามหายาน : เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้า ถึงมีความหลากหลาย (2) Mahâyâna Buddhism: Reasons for Diversity in the Buddha’s Teachings (2) อาจารย์ : ไม่น่าจะเป็นเช่นนั้นครับ กลุ่มบุคคลที่ทำเนียบ “พระพุทธศาสนามหายาน” คงไม่มีความคิดที่จะลิดเบือนคำสอนของพระศากยมุนีแต่โดยใด คำสอนของ “พระพุทธศาสนามหายาน” มีทิ้งแนวคิดที่เหมือนและแตกต่างกัน “พระพุทธศาสนาของพระศากายูมิ” แต่อย่างไรก็ดี คำสอนเหล่านั้นส่วนเกิดขึ้นจากพื้นฐานประสบการณ์ทางศาสนา 21 ของกลุ่มผู้ประพฤติปฏิบัติธรรมทั้งสิ้น และในกลุ่มผู้ประพฤติปฏิบัติธรรมเหล่านั้น ย่อมมีผู้เกิดแรงบันดาลใจรึประกายความคิดว่า “คำสอนนี้เป็นคำสอนที่พระพุทธเจ้า 22 ประสงค์จะประทานแก่พวกเรา และเราได้เข้าถึงคำสอนที่ถูกต้องนั้นของพระพุทธศาสนาแล้ว” เป็นเหตุให้เกิดความเชื่อมั่นว่าที่ “คำสอนที่แท้จริงของพระศากายูมิ คือสิ่งนี้” นักศึกษา : ถ้าภายในกลุ่มบุคคลที่ให้ทำเนียบแนวคิดใหม่นั้น ก็งไม่มีความคิดหรือกล่าวหาคำสอนเหล่านั้นว่าไม่ถูกต้องแต่โดยใด แต่ถ้า “พระพุทธศาสนามหายาน” เกิดจาก “พระพุทธศาสนายุคแบ่งนิยกาย” แล้วล่ะก็ ไม่ทราบว่า “พระพุทธศาสนายุคแบ่งนิยกาย” กลุ่มใดที่เป็นผู้สร้าง “พระพุทธศาสนามหายาน” หรือครับ ? 21 ผู้แปล : ภาษาญี่ปุ่นใช้คำว่า 宗教体験 (shukyô taiken) 22 บุดดา (budda) หรือ 仏陀 (butsuda) มาจากภาษาสันสกฤต ที่หมายถึง “ผู้ตื่น” หรือ “ผู้” เป็นชื่อที่ใช้สำหรับพระศากยมุนีภายหลังจากที่พระองค์ได้ตรัสรู้แล้ว แต่เดิม ไม่ใช่ชื่อที่ใช้สำหรับพระศากยมุนีเท่านั้น แม้แต่พระพุทธสาวกเรียกว่า “พระอรหันต์” ก็ยังคุ้นเคยกัน แต่ก่อน คำสอนของ “พระพุทธเจ้า” ของพระศากยมุนี ได้ตั้งมั่นแล้ว จึงเปลี่ยนมาใช้สำหรับพระศากยมุนีเท่านั้น เราเรียกขานพระศากยมุนีภายหลังจากตรัสรู้แล้วว่า “พระพุทธเจ้า” ส่วนก่อนการตรัสรู้ ก็เรียกขานพระองค์คำว่า “พระโพธิสัตว์”
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More