แนวคิดใหม่ในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามหายาน: เหตุใดคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมีความหลากหลาย (2) หน้า 16
หน้าที่ 16 / 37

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อภิปรายเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนคำสอนในพระพุทธศาสนาในยุคแบ่งนิยาม โดยเสนอว่าการสร้างพระสูตรใหม่ที่ไม่ได้บันทึกในพระสูตรเดิม แต่มีเหตุผลสมควร สามารถเกิดขึ้นได้ และเป็นกลุ่มคนที่เริ่มมีแนวความคิดนี้ขึ้น เช่น การเผยแพร่คำสอนของพระไครุใหม่ในสถานการณ์ที่คำสอนเดิมถูกวิพากษ์ วิจารณ์และปลดล็อค กล่าวถึงปรากฏการณ์ที่ควรจะมีมาตรการป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมากเกินไปในพระพุทธศาสนาในยุคนี้. ทั้งนี้ยังต้องพิจารณาถึงผลกระทบต่อแนวคำสอนและชุมชนพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-การปรับเปลี่ยนคำสอน
-การสร้างพระสูตรใหม่
-แนวความคิดในพระพุทธศาสนา
-การวิพากษ์วิจารณ์
-พระพุทธศาสนายุคแบ่งนิยาม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมาธิว วรารัชวิทยากรพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวบรวมที่ 11) ปี 2563 ในเมื่ "พระพุทธศาสนายุคแบ่งนิยาม" ที่ได้มีการปรับเปลี่ยน นิยามความหมายของสังคมภาค ภายหลังจากนั้น แม้จะมีสรรพวิถีที่ แตกต่างกันในคำสอนออกมาก็ตาม แต่ก็ไม่ถึงขนาดที่จะทำให้มีแนว คำสอนแปลใหม่ออกมาเสียทีเดียว แต่ว่า เมื่อช่วงกาลผ่านมา เริ่มมีกลุ่มที่มีแนวความคิดว่า "แม้จะไม่ได้เป็นคำสอนที่ถูกบันทึกไว้ในพระสูตรที่สืบทอดมาตั้งแต่ด็ด แต่หากมีความสมเหตุสมผลแล้ว ก็สามารถคิดได้ว่าเป็นคำสอนของพระ- คายุมใม่ใช่หรือ" เกิดขึ้น กล่าวคือ "แม่จะสร้างพระสูตรใหม่ที่ไม่ได้ม่าแต่ดั้งเดิม และ เผยแพร่คำสอนเหล่านั้นในฐานะคำสอนของพระคายุมี่ ก็อาจ สามารถทำได้" เมื่อแนวความคิดนี้ได้รับการยอมรับแล้ว ก็เท่าที่จะ หยุดกระแสแนวคิดเหล่านี้ได้ และเมื่อมีบุคคลยืนยันแนวคำสอนใหมที่ ไม่เคยมีมาก่อนหน้านี้ ในฐานะของคำสอนของพระคายุมี่มากขึ้น ตามลำดับ จนทำให้เกิดพระพุทธศาสนาที่แตกต่างไปจากเดิม คิอ "พระพุทธศาสนาหยายาน" นั่นเอง นักศึกษา : แต่การที่จะสร้างพระสูตรใหม่ ซึ่งไม่เคยมีมาก่อนนั้น อย่างไรก็เป็นเรื่องต้องห้ามไม่ใช่หรือครับ และถ้ามีปรากฏการณ์ที่ไม่สู้ เช่นนี้เกิดขึ้น พระพุทธศาสนาในยุคนี้ก็น่าจะมีการวิพากษ์วิจารณ์หรือ มาตรการป้องกันอะไรบางอย่างออกมา ที่จะทำให้สถานการณ์นี้ไม่ใช่ หรือครับ ? อาจารย์ : เมื่อแนวความหมายของสังคมภาคเปลี่ยนไป และ ได้รับการปลดล็อคไปแล้วนั้น เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริง แต่ในช่วงแรกคง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More