ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมะ
วาสนาวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562
นอกจากนี้มีรวมไว้ในธรรถกถาปณิฑกอิิถ์กว่าการเจริญพุทธานุสติ สามารถทำให้ผู้ปฏิบัติบรรลุธรรมหลายระดับตั้งแต่พระโสดาบันจนกถึงพระอรหันต์ การบรรลุธรรมดังกล่าวเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ดีที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้นานสูตรว่า พุทธานุสติเป็นกรรมฐานที่สามารถกำจัดโลภได้ทั้ง 3 อย่าง คือ วิตะ โทสะ และโมหะ มีผลให้จิตของผู้ปฏิบัติแน่แท้ กายสงบระงับ และเป็นสุข8
นอกจากนี้ พุทธานุสติยังเป็นกรรมฐานที่ก่อคุณต่อกรรมฐานตัวอื่นๆ คำมภีรโนปราณี อรรถกถาอังคุตตรนิกายว่า ขณะเมื่อกฤษเจริญอัษฐกฐาน จิตเริ่มไม่แช่มชื่น เกิดความเครียดไม่สามารถหยุดนิ่งได้ เมื่อท่านละจากจิตอสุภกรรมฐานแล้วมาจะลึกลงถึงโลภคุณและโลกุตตรคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จิตของท่านจึงได้กลับมา
(เชิงอรรถต่อจากหน้าที่แล้ว)
37. อิ้ม สติ ภาวิตวา ปุยิสสี มานสี ตีสกุปสถานิ เทวโล มารีสีส
38. อสติฏกุตตุ๋ เทวนิโต เทวาชีลภิรุกสสีส หฤุฏกุตตุ๋ จากุฏี ราชาวุธ ภาวุสสีสฯ
39. ปทสรุฐ วิปูล คณาโต องษ์ข่าย อนโกลสสีส ด สพุทธ พุทธานุสสิย ผล ฯ
40. ภาวนา สืสนโต มาหาโค ลิสุสสีส โกเณ เต อุณาตา นตติ พุทธานุสติยา ผล ฯ
52. ปฏิสมิง ฐติสุวิมา ¢อฐุลิเมฉภิญญา สุติฎฑวาท ก้ พุทธรสุข สานนิติฯ
(Ap I: 36-52 = มู.อป. 32/98-99)
7. จ: 97 = ชุชา.เอกก.อ. 28/178
8. AN III: 285 = งช.ถูก. 22/281/317