ข้อความต้นฉบับในหน้า
ถดถอยรา
เวฬาเชวิชาวงพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562
จะได้กล่าวสรุปถึงความเป็นมาและวิธีการเจริญพุทธจริยธรรมในคัมภีร์
จตุรารักษาโดยย่อ
ดังได้กล่าวมาข้างต้น คัมภีร์จตุรารักษาแต่งด้วยคาถาบาลีสั้นๆ
จำนวนทั้งหมด 32 คาถา 29 คาถาแรก ว่าด้วยเรื่องการเจริญกรรมฐาน
4 วิธี คือ พุทธาจิตสติ เมตตาจิตสติ อสุภาจิตสติ และมรรคานุตสติ
3 คาถาสุดท้ายเป็นเรื่องเกี่ยวกับสิ่งที่ทำให้เกิดความสงบ 8 ประการ คือ
เกิด แก่ เจ็บ ตาย บาย วัณภูทุกข์ในอดีต วัณภูทุกข์ในอนาคต และทุกข์
ในการแสวงหาอาหาร ยังไม่มีการระบุแน่ชัดถึงชื่อผู้แต่ง และสมัยที่แต่ง
คัมภีร์จตุรารักษา แต่นายประเทศไทยและประเทศไทยเชื่อว่าคัมภีร์นี้
แต่งโดยพระพุทธโมสาวาสย์ พระอรรคกถากาวายย์ผู้มีชื่อเสียงในช่วง
รวคริสต์ศตวรรษที่ 4-5 136 ความเชื่อนี้อ่อนข้างมีเหตุผล เพราะเนื้อหา
และรูปแบบการแต่งคัมภีร์จตุรารักษามีลักษณะคล้ายคลึงกับจำนวน
การแต่งของพระพุทธโมสาวาสย์ แต่โดยไกล่ตาม จากการสำรวจชาย
ชื่อวรรณคดีบาสิ่งที่ผลงานแปล และเรียบเรียงของพระพุทธ-
โโมสาวาสย์ที่ถูกรวบรวมโดยท่าน Malalasekera ไม่พบชื่อคัมภีร์
ดังนั้นจึงไม่สามารถสรุปได้ทันทีว่าท่านเป็นผู้แต่งคัมภีร์นี้
จากการเปรียบเทียบคาถาของคัมภีร์จตุรารักษากับคาถาที่มีใน
วรรณคดีบาสิ่งอื่นๆ พบว่าคาถาที่ 11 ของคัมภีร์จตุรารักษาปรากฏอยู่
ในคัมภีร์สังข์นิทัปฯ ซึ่งเป็นวรรณคดีบาสิ่งไล่ยากรณ์ที่แต่งโดย
พระอัครวงศาคณาย พระภิษุอาวาสเมียนามาร์ เมื่อปี ค.ศ. 1154 คัมภีร์
---
136 Saddhātissa (1990: 92)
137 Malalasekera (1928: 94-98)
138 ทิสุสมานปี ดาวสุส รูปกโฒอจินติโย
อาสภารณาญเจ ธรรมกาเย ถาวา กาโต
(Sadd i: 77 = นิฎฐ.ปก. 269)