ความเข้าใจในวิชา 8 และพระพุทธคุณ 9 การตรวจชำระและศึกษาพุทธานุสสติในคัมภีร์จตุรารักขาอรรถกถาบาลี หน้า 52
หน้าที่ 52 / 62

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอความสำคัญของวิชา 8 ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า พร้อมทั้งวิจารณ์ความเชื่อมโยงระหว่างพระพุทธคุณ 9 กับพระธรรมกาย ในการอธิบายลึกถึงพระความงามและข้อคิดเห็นจากอรรถกถาโดยตรง เพื่อให้เห็นว่าความเข้าใจที่ถูกต้องสามารถส่องแสงสว่างในปัญญาได้ ซึ่งจะมีการอธิบายแนวทางการศึกษาและความสำคัญร่วมกับพระธรรมกายที่มีอยู่ในส่วนต่างๆ รวมถึงการตีความอรรถกถาที่สอดคล้องกับพระไตรปิฎก ตามความเข้าใจของพระอรรถาจารย์

หัวข้อประเด็น

-วิชา 8
-พระพุทธคุณ 9
-พระธรรมกาย
-คัมภีร์ตรารักขาอรรถกถา
-การศึกษาอรรถกถา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อภิวิจิษฐาณ พิพฺโชติญาณ ปจฺโจติญาณ บุพเพนิวาสา-นุสติญาณ ทิพยจักฺขุญาณ และอาสวักขยญาณ เป็นเครื่องประดับวิชา 8 ทั้งหลายเหล่านี้ ความมงดงามอันวิษิษแห่งกายธรรมของพระมหามุนีเข้า ถึงแล้วในท่ามกลางแห่งคุณเหล่านี้ ซึ่ง ประโยคสุดท้าย คือ "มุนิมมุทเทวสิสา คุณฺชญเปฑา (ความงามอันวิษิษแห่งกายธรรมของพระมหามุนีเข้า ถึงแล้วในท่ามกลางแห่งคุณเหล่านี้) เป็นความเห็นเฉพาะ เพราะเป็นประโยคที่แสดงให้เห็นชัดเจนว่า ผู้แต่งคัมภีร์ตรารักขาอรรถกถาเข้าใจว่า วิชชา 8 ซึ่งเป็นองค์ประกอบ ส่วนหนึ่งของพระพุทธเจ้า 9 ประกอบเป็นคุณของพระธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรืออื่นกันหนึ่งก็ คือ พระพุทธคุณทั้ง 9 ประการ เป็นคุณของพระธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้นเอง แม้ว่ามีความเช่นนี้ไม่ได้บันทึกในพระไตรปิฎกและอรรถกถาโดยตรง แต่จากการศึกษา ถึงความเชื่อมโยงของหลักธรรมแสดงให้เห็นชัดเจนว่า ความเข้าใจของพระอรรถาจารย์ถูกต้องตรงตามที่มีบันทึกไว้ในอรรถกถามีวิจารณ์ปรากฏ ตัวอย่างอธิบายที่เห็นได้ชัดเจนที่แสดงว่า พระพุทธคุณ 9 ประกอบเป็นคุณของพระธรรมกาย คือคำว่า "ความ" คัมภีร์สมณปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย แสดงความหมายดังนี้ ภาคควาโค ภควโตโล ภควโคโล อนาสาโ ภควาสุษ ปาปกา ธมามา ภาวา เตน วุตจิตติ ฯ ภาคคุถายตาย จสุตฺ สตปญฺญู.อญฺญาเรสุ รูปายสมุปฺปติ ธิทตา โทติ ภควโทสตาย ธมมกายสมุปฺปติ ฯ พระองค์ตรงค์หากจะได้แล้ว ทรงหักไหล่แล้วแล้ว ทรงหักโมะได้แล้ว หอสาระมีได้ ธรรมอั้นเป็นนับทั้งหลาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More