ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมธารา
วาสานว่าวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) 2562
พระองค์ทรงหักเสียแล้ว เพราะเหตุนี้ จึงเฉลิมพระนามว่า ภควา ฯ
ก็ความถึงพร้อมด้วยรูปกายของพระผู้มีพระภาคเจ้าของคณะนั้น ผู้ทรงบุญลักษณะนั้นอ่อนโยนเป็นอันน่าแสดงแล้ว เพราะความที่ พระองค์ทรงมีพระกายสมส่วน ความถึงพร้อมด้วยพระธรรมกาย ย่อมเป็นอันน่าถามแสดงแล้ว เพราะความที่พระองค์ทรงหักโหสะ ได้แล้ว ฯ
อีกตัวอย่างหนึ่งปรากฏอยู่ในคัมภีร์ปรมัตถทีนี้ อรรถกถาฎฐท-นิยาย อิติวุตตะ คัมภีร์ได้แสดงความหมายของคำว่า “อธิ” ดังนี้
อธิตา อมิตานุสุ อนวาสสิเลสุลปานทีบเทนน อาสจัก- ขยบุตรฐานสุขพญญูบาญานาวิกผมีปกิโต ทพลอุดจตุสาชู- ออสสารณาณอภิราสาณอภิณหฑูทธมุทิตจินตเบยยบิ-เมยยุทธมุจมภยมฤตังทีปา โถติ 160 ฯ
ด้วยว่า อธตา นี้ ท่านแสดงความถึงพร้อมด้วย พระธรรมกายอันจะนับประมาณมิได้อันเป็นเรื่องอุดม จีในเช่น เช่น พลญาณ 10 เวสารัชญาณ 4 อสาราญญาณ 6 และอาเทนิก- พุทธรรม (รวมเฉพาะพระพุทธเจ้า) 18 เป็นต้น เพราะแสดงการบรรลุสุขพญญาน มีการสิ้นอาสะเป็นปฐมฐาน ฯ
คำอธิบายของผู้แต่งคัมภีร์อรรถกถาแสดงให้เห็นถึง ความแตกต่างหลักธรรมในพระไตรปิฎก และอรรถกถาบาลีของท่านเป็น อย่างดี ท่านแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า พุทธานุสติ คือ การระลึกถึง