ข้อความต้นฉบับในหน้า
พระมหากษัตรย์ไทยรัชกาลที่ 1
โดยภาพรวม เอกสารใบลานฉบับ Kh¹² และ Kh⁵ แสดงคำอ่านที่ดีกว่าเอกสารใบลานฉบับ Kh³⁴ ซึ่งมีตัวสะกด และข้อผิดผลาดมากมาย
อันเกิดจากความพลังผลของผู้จารัมิรี แต่อย่างไรก็ดีมีบางแห่งที่เอกสารใบลานฉบับ Kh³⁴ แสดงคำอ่่านที่ดีกว่าของใบลานฉบับ Kh¹² และ Kh⁵ เช่น เอกสารใบลานฉบับ Kh³ และ Kh⁴ แสดงคำอ่านที่ถูกต้องตามหลักบาลีไวยากรณ์ว่า “ปาติโมกขสัมมิจฉา ปุณณาสิทธิ จ ฑนะ” ฉะนั้นฉบับ Kh¹² และ Kh⁵ ใช้ว่า “ปาติโมกข์ สวฤติทีปุณณสิทธิ จ ฑนะ” และฉบับ Kh³⁴ แสดงคำอ่่านว่า “วิชายาติ” ซึ่งเป็นคำอ่านที่เหมาะสมกว่าคำว่า “วิชาฮี” ที่อยู่ในฉบับ Kh¹² และ Kh⁵ เป็นดังนั้นแน่ว่าเอกสารใบลานฉบับ Kh³ และ Kh⁴ มีตัวสะกด หรือข้อผิดผลาดมาก แต่ก็มีความจำเป็นที่จะต้องใช้เอกสารใบลานเหล่านี้ในการตรวจจำระคัมภีร์เพื่อให้เนื้อหาคำศัพท์ที่มีความถูกต้องและสมบูรณ์มากที่สุด
โดยสรุป เอกสารใบลานที่สร้างโดยพระมหากษัตริย์ หรือผู็มีฐานะบรรดาศักดิ์มีความละเอียด ประณีต และถูกต้องมากกว่าเอกสารใบลานที่สร้างโดยสามัญชนทั่วไป การใช้เอกสารใบลานจำนวนมากขึ้นในการตรวจชำระคัมภีร์เป็นสิ่งที่มีความจำเป็นเป็นอย่างยิ่ง เพราะยิ่งใช้เอกสารใบลานที่หลายมากบทเท่าใดยิ่งทำให้สามารถเลือกคำอ่่านที่ใกล้เคียงกับคำอ่่านดั้งเดิมมากขึ้นเท่านั้น
2. ผู้แต่ง และสมัยที่แต่งคัมภีร์
หมายเหตุที่ถูกบันทึกไว้หน้าสุดท้ายของเอกสารใบลานทั้ง 5 ฉบับ ที่นำมาศึกษาข้างต้นว่ายึดอย่างชัดเจนว่า พระเภา ชื่อว่า พระญาณมงคล