ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมธารา
วัดาสาขาวิชาวิทยาทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562
คัมภีร์ฎุรารักษาเป็นคัมภีร์ฎุรารักษาที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในหลายประเทศ เช่น ศรีลังกา ไทย และลา มีต้นในประเทศศรีลังกา คัมภีร์ฎุรารักษาทถูกเรียบเรียงอยู่ในภาคผนวกของหนังสือ ชื่อว่า Maha Pirit Pota144 ซึ่งเป็นหนังสืออสดงมนต์พระปริตรที่เป็นที่นิยมสำหรับชาวพุทธในประเทศศรีลังกา และพบคัมภีร์ในหนังสือ Theravadi Samanera Banadaham Pota145 ซึ่งเป็นหนังสือคู่มือสดมภ์สำหรับสามารถถวาในประเทศศรีลังกา จากการพูดคุยสอบถามพระอถตเตอร์ Divulapelesse Wimalananda (กุมภาพันธ์ 2013) พระภิกษุผู้การทางพระพุทธศาสชาวศรีลังกา ได้ข้อมูลว่า คัมภีร์ฎุรารักษาเป็นคัมภีร์ที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในประเทศศรีลังกา ตั้งแต่ดีดจนถึงปัจจุบัน มีอัตถุดุจประสงค์และวิธีการสดดที่แตกต่างจากการสวดมนต์ทั่วไป คือ จะสวดเพื่อพัฒนาจิตใจ หรือ เพื่อการเจริญภาวนาเป็นหลัก พระภิกษุชาวศรีลังกาจะสดบทนี้ทุกวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พระเกะผู้มีประสบการณ์การปฏิบัติธรรมจะเป็นผู้นำในการสวด หลังจากนั้นพระนวกะ หรือ สามเณรจะสวดโดยการออกเสียงตามบทคำเหมือนกันกับการใช้เป็นบทสวดและทบทวนวิธีการปฏิบัติธรรมเอง
สำหรับในประเทศไทยพบว่า มีเอกสารในลานคัมภีร์ฎุรารักษาเป็นจำนวนมากเก็บรักษาที่หอสุตแห่งชาติ กรุงเทพ ฯ และวัดอาวอามในภาคต่างๆ ของประเทศไทย นอกจากนั้น ยังพบคัมภีร์ฎุรารักษาในหนังสือสวดมนต์ฉบับภาคเหนือ โดยใช้ชื่อบทสวดว่า "พุทธา" แทนคำว่า "ฎุรารักษา"146 จากการสำรวจพบว่า ปัจจุบันคัมภีร์ฎุรารักษาจะใช้สวดในพิธีกรรม หรือ วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันวิสาขบูชา
144 ศรี วักสิระ (1983: 329-331)
145 วนารัตน์ (1980: 37-39)
146 ทวี เขื่อนแก้ว (2524: 218-221)