การวิเคราะห์คำอ่านในเอกสารใบลานพระพุทธศาสนา การตรวจชำระและศึกษาพุทธานุสสติในคัมภีร์จตุรารักขาอรรถกถาบาลี หน้า 33
หน้าที่ 33 / 62

สรุปเนื้อหา

บทความนี้วิเคราะห์คำอ่านในเอกสารใบลานพระพุทธศาสนา โดยเปรียบเทียบฉบับ Kh⁵ และ Kh¹⁻⁴ พบว่าฉบับ Kh⁵ รักษาภูมิรายของคำอ่านและตามกฎของคณะฉันท์ได้ดีกว่า ขณะที่ฉบับ Kh¹⁻⁴ มีความคลาดเคลื่อนในหลายจุด รวมถึงการใช้คำที่ไม่ถูกต้องในบริบทและคำอ่านที่ไม่ตรงตามส่วนที่กล่าวถึง ตลอดจนการเปรียบเทียบกับเอกสารในฉบับ Kh¹ และ Kh² โดยเฉพาะฉบับ Kh² ที่มีข้อผิดพลาดมากกว่า

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาเอกสารใบลาน
-การเปรียบเทียบคำอ่าน
-ความถูกต้องในพระพุทธศาสนา
-บทความวิเคราะห์
-วรรณกรรมไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ทรงธรรม วาสนา วิทยฐานะวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ตอนที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562 เพราะแสดงความหมายสดวดล้องกับบริบทที่มีอยู่ ขณะที่เอกสารในฉบับ Kh¹⁻⁴ แสดงคำอ่านที่ไม่ถูกต้องว่า “สมปน่” (ประกอบพร้อมด้วย) และในคาถาที่ 31 เอกสารในฉบับ Kh⁵ แสดงคำอ่านว่า “จุติ” (ตาย) ซึ่งเป็นคำมีความหมายเข้ากันกับบริบทที่มีอยู่ ขณะที่เอกสารในฉบับ Kh¹⁻⁴ แสดงคำอ่านว่า “จุต” (สี่) ซึ่งเป็นคนละความหมาย (3) คำอ่านบาสของเอกสารในฉบับ Kh⁵ รักษาภูมิของบาสไวยากรณ์อย่างเข้มงวดมากกวาเอกสารในฉบับ Kh¹⁻⁴ เช่น ฉบับ Kh⁵ แสดงคำอ่านที่ถูกต้องว่า “อฌษฐานนุตา ปรัลา” ขณะฉบับ Kh¹⁻⁴ ใช้คำว่า “อษญาณนุตา ปรัลา” และฉบับ Kh⁵ แสดงคำอ่านที่ถูกต้องว่า “สิริโถ พหิปิตติ” สุตฺตา หณฺฑณ ฉุตฺตบุณ ญฺปุตฺตมโน อิจฺฉนตํ (สัตว์ทั้งหลายย่อมไม่ปรารถนามีที่จะแตะต้องสิ่งที่ก่อออกมาจากสิริแม้ด้วยมือ) ขณะฉบับ Kh¹⁻⁴ แสดงคำอ่านที่คลาดเคลื่อนว่า “สิริโถ หติบิตตมตฺตา สุตฺตา หณฺฑณ ฉุตฺตบุณ ฯ” ในอิจฺฉนตํ (สัตว์ทั้งหลายย่อมไม่ปรารถนามีที่จะแตะต้องสิ่งที่ก่อออกมาจากสิริย่อมไม่ปรารถนาแม้จะแตะต้องด้วยมือ) และ (5) ประการสุดท้ายคำอ่านในเอกสารในฉบับ Kh⁵ โดยมากเป็นไปตามกฎของคณะฉันท์ เช่น ฉบับ Kh⁵ เลือกใช้คำว่า “คเหตุวาน” แทนที่คำว่า “คเหตุวา” ตามฉบับ Kh¹⁻⁴ เพื่อเพิ่มเติมให้ครบ 8 ยางคัดตามหลักของปัจจุบันรัตนฉบับเป็นต้น นอกเหนือจากเอกสารในฉบับ Kh⁵ แล้ว เอกสารในฉบับ Kh¹ และ Kh² เป็นเอกสารใบลานที่แสดงคำอ่านบาสีดีเช่นกัน คำอ่านส่วนใหญ่ของฉบับ Kh¹ และ Kh² ตรงกับคำอ่านของฉบับ Kh⁵ มีเพียงบางแห่งเท่านั้นที่มีตัวสะกดผิดพลาดคลาดเคลื่อน แต่เองก็ตามเมื่อเปรียบเทียบคำอ่านระหว่างเอกสารในฉบับ Kh¹ และ Kh² พบว่าคำอ่านบาสีในเอกสารใบลานฉบับ Kh² ที่สร้างโดยพระมหากษัตริย์ไทยราชกาลที่ 3 มีข้อผิดพลาดมากกว่าเอกสารใบลานฉบับ Kh¹ ที่สร้างโดย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More