การแก้ไขคำอ่านในเอกสารคำมจีรี การตรวจชำระและศึกษาพุทธานุสสติในคัมภีร์จตุรารักขาอรรถกถาบาลี หน้า 15
หน้าที่ 15 / 62

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงกระบวนการในการแก้ไขคำอ่านในเอกสาร Kh^3-4 ซึ่งมีการปรับปรุงคำอ่านที่ไม่ถูกต้อง 3 ประการ โดยพิจารณาจากพยัญชนะและบริบทสำหรับความเข้าใจที่ถูกต้อง การแก้ไขคำอ่านถูกทำเพื่อรักษาความถูกต้องและความหมายในเอกสาร เช่น การเปลี่ยนแปลงคำที่ผิดพลาดและให้เหมาะสมกับมาตรฐานด้านภาษา เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจแนวความคิดอย่างถูกต้อง.

หัวข้อประเด็น

-การแก้ไขคำอ่าน
-ความหมายภาษา
-มาตรฐานสากล
-เอกสารใบลาน
-ความถูกต้องในการอ่าน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ที่ดีกว่าคำสารในฉบับ Kh^3-4 (ดูรายละเอียดลักษณะของเอกสารใบลานด้านล่าง) การแก้ไขคำอ่านจะทำในกรณีที่ผ่านมาเป็นเท่านั้น คำอ่านที่แก้ไขจะถูกวางไว้ในตัวเนื้อหาหลักของคำมจีรี และแสดงตัวอย่างว่า em. ที่เชิงอรรถ เช่น em. อารถณญาณเทฺ (Kh^1-5) คำอ่านจะถูกแก้ไขได้ด้วยเหตุผล 3 ประการ คือ (1) มีข้อผิดพลาดคลาดเคลื่อนอย่างชัดเจนในเรื่องไวารณ์บทลี และตัวสะกดที่สามารถแก้ไขได้ และทำให้ถูกต้องตามหลักมาตรฐานสากลด้วยการตรวจสอบกับพระไตรปิฎก อรรถกถาบาลี คัมภีร์ใบลานอักขรวิธีปราณีตต่างๆ เช่น วิสุทธิมรรค พจนานุกรมบาลี และผลงานทางด้านบาลีอรรถเป็นต้น ตัวอย่างเช่น คำว่า “สกตติ” แก้เป็น “ภาคติ” และคำว่า “อิจฺจเต” เมตตามุมฎฐานแก้เป็น “อิจฺจเต เมตฺตํ-กมฺภูฏา” (2) คำอ่านจะถูกแก้ไขเมื่อไม่ถูกต้องตามหลักชันษ์สันต์ เช่น สะ อุ ในคำว่า “อุท” (คาถาที่ 3) ถูกเขียนเป็น อู เป็น “อุท” และสะอุในคำว่า “ปฏิกุลาน” (คาถาที่ 18) ถูกเขียนเป็น อู เป็น “ปฏิกุลาน” เพื่อที่จะรักษาบาทคาถาปกติของปฏิรูปาวัตรฉบับที่พังศรี 2-4 จะต้องไม่เป็น ` ` ` หรือ _ _ _ (3) ประการสุดท้าย คำอ่านจะถูกแก้ไขเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทที่มีอยู่ เช่น คำว่า “ปญฺจ” (ห้า) แก้เป็น “ปณฺญ” (สิบ) เพราะคำบริบทกล่าวชัดเจนว่าจะแห่ง 15 ประการ17 คำว่า “คนฺถกฺ” (เป็นเหมือนกลิ่น) ในคำว่า 22 แก้เป็น “คณฺฑกฺ” (เป็นเหมือนผี) เพื่อให้มีความหมายตรงกับบริบทที่ว่า ด้วยการเจริญอุตถกาวนาว่า ด้วยเรื่องสิ่งที่ไม่งาม เป็นต้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More