ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมสรา
วรรคสี่ภาคทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562
มีวัตรอันเต็มเปี่ยมบริบูรณ์ อยู่ในเสนาะสนะอันสมควร เรียนกันมิ์ฐานาที่ถือกุลแก่จริง
เมื่อระลึกถึงพระมณีมีผู็อันไฟศาลอันไม่มีที่สิ้นสุด ตามคุณ(ลักษณะพิเศษของพระองค์) พิ้งเจิญพุทธานุสติ เป็นเบื้องต้น ฯ
มีข้อสังเกตว่า ทั้งสองคัมภิราจรญ์วัดตรงกันว่า นี่เป็นขั้นตอนการ เจริญกรรมฐานสำหรับนักบวชเท่านั้น ต่อจากนั้น ผู้แต่งคัมภิราจรญรต์อารรภาแสดงอย่างชัดเจน ว่า การเจริญพุทธานุสติในคัมภิราจรขอาอรัษภา คือ การปฏิบัติธรรมนโดยการละลึกถึงบ่อย ๆ ซึ่งคุณสมบัติของกายทั้งสองของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ รูปกาย และธรรมกาย ท่านได้แสดงคุณสมบัติของรูปกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในคัมภิราจรขอาอรัษภา ว่า รูปกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายถึงกายเนื้อภายภายนอกของพระองค์ที่ดังงามอย่างยิ่งดังพระบำลี่ว่า
อสุส มุฏิราชสุทธิสัมโณ สมุปลิตสุคลสุฬลาน เทวนุตสุลานต์
ปัญญามาโน รูปกาโย ปฏิสนธินพุทธะอุรัสลกขุนอสีญา- นพยุจุนพยามปภากฏุกามาวิญนตาโรมเยยคุณสมุทโโย
ปลิสิโต มนสิทธิอิณุสิทธิรสรำโต รูปกาโย รูปกายสุ สงโมติบิ
ดาว อจินดิโย จิตตุวิสาสิตินุกุตตาย จินติจุตมุฑกเมยโย ฯ
แม้รูปกายของพระมณีราชนั้น ที่เห็น คือ ที่ปรากฏอยู่แก่ เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ซึ่งมีคุณสมบัติอันเข้าไปสั่งสมพร้อมแล้ว เกิดขึ้นพร้อมด้วยคุณอันไม่มีประมาณไม่มีที่สุด คือ มาหาปูสี-