ธรรมะาภาวนา วิชาชีพทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 การตรวจชำระและศึกษาพุทธานุสสติในคัมภีร์จตุรารักขาอรรถกถาบาลี หน้า 43
หน้าที่ 43 / 62

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจคุณสมบัติและพระพุทธคุณ 9 ประการตามหลักพระพุทธศาสนา โดยเน้นการเจริญพุทธบูชาผ่านความเข้าใจถึงคุณสมบัติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับรูปภายนอกและธรรมกายของพระองค์ เพื่อเสริมสร้างศีลธรรมและปัญญาในชีวิตประจำวัน ผู้ที่มีความสนใจในพระพุทธศาสนาจะพบว่าข้อมูลเหล่านี้เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติธรรม รวมถึงการพัฒนาตนเองไปในทิศทางที่ดีขึ้น www.dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-พระพุทธคุณ 9 ประการ
-การเจริญพุทธบูชา
-รูปภายนอกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
-ธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมะาภา วาสนาวิชาชีพทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) 2562 ทั้งหลาย เช่น สีล เป็นต้น) (4) สุคโต (ทรงเป็นผู้สดับไปสู่อันงาม และไม่ตรัสจากที่เปล่าประโยชน์) (5) โลภิวุฒิ (ทราบแจ้งโลก 3 อย่างถ่องแท้) (6) อนุตตโร ปุตฺตโม ปริสุทฺโธมาริ (ทรงเป็นผู้ยอดเยี่ยมกว่าสัตว์ทั้งปวงด้วยคุณมากประการ ฝึกคนที่ได้ด้วยอุบายนหลายหลาย) (7) สตฺถา เทวมนุสฺสาน (ทรงพสอนประโยชน์แก่สัตว์โลกทั้งปวง) (8) พุทโธ (ทรงส่งสมพระบารมี ยกพระองค์ขึ้นด้วยปัญญา ยกพระองค์ขึ้นเนื่องธรรมทั้งปวง และยกผู้อื่นด้วยพระเมตตา) และ (9) ภคา (ทรงเป็นผู้มียอดทรัพย์อันยอดเยี่ยมด้วยคุณทั้งหลาย คือ ความมีโชค และความเป็นใหญ่อย่างต้น) 151 นอกจากพระพุทธคุณ 9 ประการ คาถาที่ 11 ซึ่งเป็นคาถาสุดท้ายของคัมภีร์จุตรมารขาแสดงวิธีการเจริญพุทธบูชาโดยการระลึกถึงคุณสมบัติของกาย 2 กายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ (1) รูปาย คือ กายภายนอกของพระองค์ซึ่งมีลักษณะเป็นเรื่องจินตโยเกินว่าที่จะติรกนึกได้ และ (2) ธรรมกาย คือ กายธรรมของพระองค์ซึ่งมีลักษณะซึ่งเจริญมังกรไปด้วยญาณรู้ที่ไม่ทั่วไป (อาสาการญาณ) 152 แต่โดยไร้ตุฏฐ์ จึงมีแสดงความเชื่อโยงระหว่างพระพุทธคุณ 9 ประการ และรูปภาย หรือพระธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ___________________________ 151 คำแปลจากคาถาที่ 2-10 ของคัมภีร์จุตรมารขา 152 ทิสสมานปิ ดูวสุ รูปกาย อัญฺตโน อาสาราญญาณดูร มุฏฺฐานา ถถา ฐาน ตกิติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More