การนั่งสมาธิและความแก่ แด่นักสร้างบารมี 1 หน้า 137
หน้าที่ 137 / 171

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้ได้มีการพูดถึงประสบการณ์การนั่งสมาธิที่ท้าทายเมื่ออายุเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเมื่อถึงวัย 50 ปี ความแข็งแรงของร่างกายเริ่มลดลงทำให้ไม่สามารถนั่งสมาธิได้เหมือนเมื่อก่อน เช่น การปัสสาวะบ่อยครั้งที่ทำให้ต้องลุกออกจากสมาธิ ซึ่งเป็นปัญหาที่ผู้ที่มีอายุมากต้องเผชิญ ทำให้การฝึกสมาธิจึงมีความท้าทายมากขึ้นเมื่อสุขภาพเริ่มเสื่อม อย่างไรก็ตามความตั้งใจในการนั่งสมาธิยังคงมีอยู่และประสบการณ์นี้เป็นเรื่องที่น่าสนใจในวงการปฏิบัติธรรม

หัวข้อประเด็น

-การนั่งสมาธิ
-ความแก่
-ประสบการณ์ผู้สูงอายุ
-สุขภาพและการนั่งสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

แต่... นั ก ส ร้ า ง บ า ร มี 4 M ๑ ໑ຕຕ ท้องฟ้านับเท่าไม่ถ้วน เห็นทะลุเข้าไปในพระนิพพาน ชัดเจน กิเลสของตัวเองมีเท่าไร ของมนุษย์ทั้งหลายมี เท่าไร ก็เห็นชัดหมด” ได้ยินท่านตอบอย่างนี้ ก็ได้แต่นั่ง เซ่ออ้าปากหวอ สักพักหลวงพ่อธัมมชโยก็ถามท่านต่อ “ยายนั่งได้ รวดเดียว 5 ชั่วโมงนี้จนถึงอายุเท่าไร” ท่านก็ตอบว่า “ได้จนกระทั่งถึงอายุราวๆ ๕๐ ปีเศษ หลังจากนั้นไม่ได้ “อ้าว อายุยิ่งมากขึ้น น่าจะยิ่งนั่งได้ดีซิยาย” ตรงนี้เป็นเงื่อนสำคัญนะ คุณยายอาจารย์ท่าน ตอบชัดเจน ท่านบอกว่า “พออายุขึ้นเลข ๕ แล้ว จะให้ นั่งสมาธิรวดเดียว ชนิดกลางวัน 5 ชั่วโมงรวด กลาง คืนที่ 5 ชั่วโมงรวด มันชักจะไม่ได้เสียแล้ว เพราะว่าความ แก่มันเริ่มบีบคั้น” พอนั่งไปได้ระยะหนึ่งก็จะเริ่มเมื่อย แต่นั่นยังไม่เท่าไร ที่สำคัญคือการขับถ่าย การปัสสาวะจะถี่ขึ้นทำให้ต้อง ลุกไปเข้าห้องน้ำในระหว่างนั่ง ใจเลยต้องถอนออกมา จากสมาธิสุดละเอียดเป็นช่วงๆ ความแก่มันบังคับสุขภาพให้ต้องเป็นไปอย่างนี้ เพราะฉะนั้นถึงแม้เราจะมีความเชี่ยวชาญในการนั่งสมาธิ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More