การนั่งสมาธิกับการเสื่อมของสังขาร แด่นักสร้างบารมี 1 หน้า 138
หน้าที่ 138 / 171

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความสำคัญของการนั่งสมาธิและผลกระทบที่มีต่อการทำสมาธิเมื่อถึงอายุเกิน ๕๐ ปี โดยมีการพูดถึงการเสื่อมของสังขารและการควบคุมสมาธิของหลวงพ่อและคุณยาย คุณยายได้แนะนำให้พัฒนานิสัยการทำสมาธิให้มั่นคงตั้งแต่อายุน้อย เพื่อที่จะสามารถทำสมาธิได้ดีแม้อายุมากขึ้น ในช่วงเวลาที่สังขารเริ่มเสื่อมลง แต่ล้วงหน้าอาจมีโอกาสที่จะฝืนตนเองในการทำสมาธิได้.

หัวข้อประเด็น

-การนั่งสมาธิ
-ประสบการณ์จากหลวงพ่อ
-อายุและการเสื่อมของร่างกาย
-คำแนะนำจากคุณยาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

M ๑๓๘ แต่... นั ก ส ร้ า ง บ า ร มี ๑ มากขนาดไหนก็ตาม ถ้าสังขารชักจะไม่ยอมให้แล้ว สมาธิมันก็เริ่มถอยลงๆ เหมือนกัน คุณยายท่านก็เหลียวมาทางหลวงพ่อ กำชับว่า “ท่านทัตตะ ตั้งใจเคี่ยวเข็ญตัวเองให้ดี พออายุเกินเลข ๕ แล้ว การนั่งสมาธิจะทำได้ไม่เต็มที่ แม้ว่าเราจะทรหดอดทน แค่ไหนก็ตาม ในที่สุดก็จะฝืนสังขารไปไม่ได้” จริงสินะแม้ว่าเราอาจมีชีวิตอยู่ได้ถึง ๑๐๐ ปีก็ตาม แต่ว่าช่วงทรหดอดทนของเรามันไม่ถึง ๑๐๐ ปีอย่างที่ เราหวังหรอก เหมือนอย่างนักมวย ถึงจะต่อยเก่งเป็น แชมเปี้ยนโลก ก็อาจจะรักษาเข็มขัด แชมเปี้ยนอยู่ได้ถึง แค่อายุ ๓๐ ปีไม่เกิน ๕๐ ปี จากนั้นร่างกายจะทนทาน ไม่ไหว มันสะบักสะบอมเสียแล้ว จากตัวเลขอายุที่คุณยายอาจารย์ให้มานี่ ทำให้ทั้ง หลวงพ่อธัมมชโยและหลวงพ่อเอง ต้องหยุดถอน หายใจ หลายครั้ง เพราะว่าเดี๋ยวนี้อายุก็เกินเลข ๕ มา แล้วทั้งคู่ ถล่มสังขารในวัยต้น แม้จะรู้เรื่องความเสื่อมของสังขารตามวัยแล้ว แต่ หลวงพ่อก็ยังอยากรู้ให้มันยิ่งๆ ขึ้นไปอีกวันหนึ่ง ก็ได้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More