ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมนิธร
วรรณสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับรวมที่ 3 ปี 2559
[13] รู้ธรรมทั้วหลายด้วยจิตเดียว31
[14] รู้ธรรมทั้วหลายโดยรอบด้วยปัญญาที่สมประดุจในหนึ่งขณะจิต32
[15] สมเด็ดพระพุทธเจ้าผู้ทั้วหลายอยู่ในอนุตปทาญาณะ (anutpādajñāna)และการดับ (ksaya) อย่างตลอดต่อเนื่องจนกระทั้งปริหนพาน
[2.1.1.2 หลักธรรมเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์]
[1] พระโพธิสัตว์ทั้งหลายไม่อยู่ในภาวะของ กัลละ(kalala*), อรพุทธ(arbuda*), เปศี(pesī*) และ มนะ(ghana*)ในพระครรภ์ของมารดา(ขณะอยู่ในพระครรภ์)33
31 Kv: 314-315. ดู Teramoto ในส่วนของ Vinitateva(Teramoto and Hiramatsu 1935: 37)
32 X: 一념那心相應般若知一切法; Pm: 如來一념那心相應般若。能解一切法;
A: 一念相應慧覺一切法.
เมื่อพิจารณาบับจีนทั้งสามสำเนาวว่า เนื้อหาหลักได้รับการแปลไปในทิศทางเดียวกัน มีแต่เพียงจุดเล็กน้อยในคำศัพท์ที่อาจไม่ออกคล้องกัน เช่น ฉบับ X ใช้คำว่า “一념那心” ฉบับ Pm ใช้คำว่า “一념那” และฉบับ A ใช้คำว่า “一念”
เมื่อเปรียบเทียบฉบับ X และ Pm จะแตกต่างกันเพียงแค่ฉบับ Pm ไม่มีคำว่า “ใจ” ผู้เขียนสนิทฐานว่า เนื่องมาจากคำศัพท์สนุกตลอดคือ eka-kṣanika[-citta] ที่แปลว่าเพิ่มหรือจะคำว่า citta แต่นักแปลชาวจีนก็เข้าใจความหมายของคำศัพท์ในบริบทนี้อย่างไม่ต้องสงสัย สำหรับฉบับ A ถึงแม้จะใช้คำว่า “一念” ที่แปลแตกต่างออกไปก็ทดลอง แต่ก็อาจมาจากคำศัพท์เดิมกัน
(เชิงอรรถ คำอ่านต่อหน้า 83)