การวิเคราะห์คำแปลในพระพุทธศาสนา Samayabhedoparacanacakra คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (2) หน้า 34
หน้าที่ 34 / 49

สรุปเนื้อหา

บทความนี้วิเคราะห์คำแปลในพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับขั้นโสดาบันและอรหันต์ โดยมุ่งเน้นการเปรียบเทียบการแปลจากฉบับต่างๆ เพื่อค้นหาความถูกต้องของแต่ละฉบับ การศึกษาเน้นย้ำถึงความสำคัญของการเข้าใจคำแปลและการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการแปลจากภาษาสันสกฤต มุ่งหวังให้ผู้อ่านมีความเข้าใจที่ลึกซึ้งในหลักธรรม.

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์คำแปล
-พระโสดาบัน
-พระอรหันต์
-ความแตกต่างในฉบับแปล
-ความสำคัญของข้อมูลภูมิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรธรรม วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับรวมที่ 3 ปี 2559 (เชิงอรรถ ต่อจากหน้า 89) “ในข้อมูลภูมิในอยู่เองนาน [แต]ในขั้นโคตรภูมีมีภาวะเสื่อม” คำว่า ข้อมูลภูมิ ในที่นี้หมายถึง ขั้นของ “โสดาบัติตมรรคนาร” หากไล่เรียง ลำดับความก่อนหลังกับขั้นโคตรภูมิ จะได้ดังนี้คือ โคตรภู→อัษฎภูมิ→ภูมิ อั้ง มีข้อสังเกตเกี่ยวกับคำแปลสุดท้ายคำว่าอัญมญะและคำว่าโคตรใน ฉบับแปลที่อ้างอิงโดยใชคำว่า ภูมิ (地) บ้างและคำว่า ธรรม (法) บ้าง 47 X:預流者退義. 阿羅漢無退義; Pm:須毘多阿那退法. 阿羅漢多不退 法; A:須陀退法.阿羅漢亦有退法; Teramoto ได้แก้ไขฉบับ A เป็น須陀退法.阿羅漢不有退法; Vinítadeva: พระโสดาบันและพระอรหันต์ ไม่มีภาวะเสื่อม เมื่อพิจารณาทุกฉบับที่กล่าวมา ขอเรียบเรียงใหม่ดังนี้ ฉบับ X, Pm, ฉบับ ทบุต และฉบับ Ter แปลไปในทิศทางเดียวกันคือ “พระโสดาบันมีภาวะเสื่อม ได้ แต่พระอรหันต์ไม่มีธรรมที่เสื่อม” แต่ฉบับเดิมของฉบับ A ซึ่งไม่ได้ รับการชำระและแก้ไขโดย Teramoto กลับแปลว่า “พระโสดาบันมีธรรมที่ เสื่อมได้, พระอรหันต์ก็เช่นกันมีรามีธรรมที่เสื่อมได้” ซึ่งหากเราถือตามมาตรฐานว่า ต้นฉบับที่นำมาเปรียบเทียบด้วย คือ ฉบับ X และ Pm ถูกต้อง มีความน่า เชื่อถือกว่า ดังนั้น ต้นฉบับเดิมของฉบับ A อาจเกิดการผิดพลาด จากการ อ่าน หรือการอราช ซึ่งอาจเนื่องมาจากศัพท์คำว่า aparihāni เมื่อพิจารณาประโยคในฉบับ A คือ “อะไรก็退法” หากบรรจงกลับไปเป็น ภาษาสันตกฤตควรจะเป็น “…api aparihāni…” แต่ในฉบับ A นั้น ดังจะ เห็นได้ในหลายที่ผู้เขียนนำเสนอประเด็นไปก่อนหน้านี้ คำแลมางจาก ต้นฉบับที่เป็นภาษଇในองค์ประกอบไม่ใช่ภาษาสันตกฤต และเกิดการ แปลที่ผิดพลาดอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งไม่แน่ใจว่าเกิดจากต้นฉบับที่ผิดพลาด หรือ การแปลที่ผิดพลาด หากพิจารณาดูในกรณีนี้ก็คล้ายแปลจากศัพท์คำว่า “…api hâni...หรือ ...api parihāni...” ที่ฉบับ A อาจเกิดความผิดพลาด จากการอ่านและแปล หากเราตั้งสมมติฐานว่า ฉบับ X และ Pm ถูกต้อง สำหรับฉบับของ Vinítadeva ได้อรรถาธิบายว่า: มีภาวะเสื่อมทั้งพระโสดาบัน (เชิงอรรถ อ่านต่อหน้า 91)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More