ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมศาสตร์
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับรวมที่ 3 ปี 2559
[ช่วง]เวลาที่อาศัยอยู่ใน 100 นี้นิ กายอื่น คือถิ่นที่เรียกว่า กคียปิยะ (Kās'apyīya)[16] [หรือ เรียกอีกชื่อว่า] สุวรรคะ(Suvarṣaka)17 ได้แตกออกมาจากนิ กายสรวงสวาท
[ช่วง]เวลาที่ดำรงอยู่ร้อยปีที่ 4 นิ กายอื่นคือ นิ กายสังวรติฎะ (Saṃkrāntika) [หรือ เรียกอีกชื่อว่า] สตรานติฎะ(Sautrāntika)แตกออกมาจากนิ กายสรวงสวาท เขาเหล่านั้นได้กล่าวว่า อาจารย์[ของเขา] คือ ธรรมโมตกะ(Dharmottara)[18]
(เชิงอรรถ ต่อจากหน้า 73)
Max Deeg นักวิชาการตะวันตกแปลประโยคที่กล่าวว่า "因师主因执连" ในคัมภีร์ SBh ฉบับจีน A เป็นภาษ อังกฤษว่า
"because their leader(always) referred (to the Buddha) was..."
และอธิบายการแปลนี้ในเชิงอรรถว่า
"This refers to Maudgalyāyana always following the Buddha in expounding the dhamma: see Demieville 1973: 60f."
จากข้างต้นเราจะพบว่า Deeg แปลสืบเนื่องเกิดความผิดพลาดจากการแปลคำว่า "因执連" ซึ่งทำให้คำแปลและเชิงอรรถอธิบายดูคลาดเคลื่อนผิด ต้อง เนื่องจาก Deeg แปลคำศัพท์แต่ละตัวออกมาเป็นความหมาย แต่ในความเป็นจริงอักขระทั้งสามตัวนี้เป็นชื่อเฉพาะของพระเมาะกัลยาณะ (Maudgalyāyana) โดยเป็นการแปลแบบบอดเสียง ซึ่งเป็นความผิดพลาดของการคัดลอก "因执連" และ "日乾連" ดั้งที่เขียนกล่าวไว้แล้วข้างต้น และหาก Deeg ได้พิจารณารำลึกอัญประกอบด้วย ผู้เขียนคาดว่าปัญหาที่เข้าใจคลาดเคลื่อนไม่ถูกต้องนี้จะหมดไป
16 ฉบับ X และ Pm ใช้คำว่า 飲光部 ซึ่งผู้เขียนสนัษฐานว่า มาจาก kās' แปลว่า สว่างใส และ 飲 มาจาก/pā ที่แปลว่า ดื่ม ซึ่งคำว่า 飲光 หมายถึง "ดึ่มแสงสว่าง"
(เชิงอรรถ คำอ่านต่อหน้า 75)