ข้อความต้นฉบับในหน้า
ชิงอวร ณจากหน้า 72
(เชิงอรรถ ต่อจากหน้า 72)
"นิยายมูลสถีวะ" อย่างฉบับทิบบด และฉบับ X
แต่ในฉบับ A นี้แปลแตกต่างจากฉบับที่กล่าวมาทั้งหมด คือ "นิยายสว-สติวะ มีชื่อเรียกเพิ่มขึ้นมาอีกชื่อ คือ นิยายเหตุวาทปุจฉาสติวะ(因論ฝ่าย上座บรร)"
เมื่อพิจารณาจากข้อมูลข้างต้น และการแปลของฉบับ X, Pm และ A ที่ผ่านม COSTนี้จะว่า การแปลในฉบับ A มีการตกหล่น ผิดพลาดหลายที่ ดังนั้นความน่าเชื่อถือในการแปลทำให้ผู้เขียนเกลียดใจผู้อ่านการแปลประโยคข้างต้นนี้ ซึ่งอาจต่ออารมณ์ฐานว่า เกิดจากความเข้าใจผิด หรือเป็นเพราะต้นฉบับเขียนไว้แบบนั้นจริง ๆ
15 X: 採dry氏; Pm: 凡加羅 是我 大師; A: 因師主閣執連. เมาทคือยนะ (Maudgalyāyana) เป็นคำศัพท์ภาษาสันสกฤต จะตรงกับคำว่า โมคคัลลานะ (Moggallāna) ในภาษาบาลี ในฉบับ Pm ใช้คำว่า 凡加羅 เป็นการแปลโดยถอดเสียงของคำว่า Mogala?
ในกรณีของฉบับ X ใช้คำว่า 採dry氏 Teramoto สันนิษฐานว่า ศัพท์คำว่า 採敬氏 เป็นคำแปลของคำว่า เมาทคัลยานะ (Maudgalyāyana) หรือโมคคัลลานะ(Moggallāna) โดยตั้งคำราวนี้
คำว่า "maudga" หรือ "mugga" หมายถึง "ถั่ว" คำว่า โล มาจาก /ล่า หมายถึง to take คือ อักษร 採
ส่วนอักษร氏 นั้น Teramoto เสนอความคิดเห็นว่าคือ ไอยะนา ที่แปลว่า ตระกูล แต่ผู้เขียนไม่สามารถพบความหมายนี้ในพจนานุกรมภาสันสกฤตทั้งหลายได้ แต่พบคำว่า anyaaya จึงคิดว่า Teramoto คงหมายถึงปัจจัยในโคตรอันตะมากกว่าในใจวรรณสันกฤตเรียกว่า ตัณฑัยม (tadīta) ที่ตั้งเป็นคำว่า TSS 宥สัปทาม (tadīta) แปลว่า offspring of his" เป็นปัจจัยของ taddhita(ตติดิต) ที่ตั้งเป็นคาใช้ Genitive case ดูเพิ่มเติมที่ Tubb and Boose(2007: 74-75)
สำหรับฉบับ A ใช้คำว่า 因執連 which เมื่อเทียบกับฉบับ Pm และฉบับX แล้ว ผู้เขียนสันนิษฐานว่า อาจเกิดการคัดลอกผิด ซึ่งควรเป็นคำว่า 目乾連 มากกว่า
(เชิงอรรถ อ่านต่อหน้า 74)