ข้อความต้นฉบับในหน้า
เขิงอรรถ ต่อจากหน้า 90)
และพระอรหันต์ ซึ่งตรงกันข้ามกับฉบับ A อย่างสิ้นเชิง ไม่มีรอยอะไรที่
ช่วยเราได้นาการหาคำตอบในเรื่องนี้
หากพิจารณาคำมีท่าทางสายบาศิประกอบ คือ คัมภีร์กาถวัตถุ ในการที่ชื่อ
ปรินานิกา คล้ายกับมีบางนิยายที่เห็นว่า มีการเสื่อมถอยลงจากระดับความ
เป็นพระอรหันต์ แต่ไม่เสื่อมถอยลงจากระดับโสดาบัน[?] ซึ่งคัมภีร์กาถวัตถุ-
อรรถกถา ได้กล่าวว่านิกายที่มีแนวคิดแบบนี้หนึ่งในนั้นมี "มหาสังฆมรรคบาง
พวก" รวมอยู่ด้วย ซึ่งดูตรงข้ามกับคัมภีร์ SBh ฉบับแปลจีนสองส่วนคือ
X, Pm และทิเบต
เมื่อพิจารณาดูโดยรวมจะเห็นว่าทั้งคัมภีร์ SBh และ คัมภีร์กาถวัตถุอรรถกถา กล่าวเกี่ยวกับเรื่องวัตถุ 5 ประการเหมือนกัน ซึ่งได้กล่าวว่าเป็นของ
นิกายมหาสังฆมรรค หรือ ถึงนิกายของมหาสังฆมรรคหลาย นี้จะเป็นเหตุผล
ที่ต่อเนื่องมา ทำไมถึงมีการเสื่อมถอยลงจากระดับอรหัตได้ และถ้า
พิจารณาจากระยะเวลาที่เกิดขึ้นของเหตุการณ์น่าจะเป็นในเวลาใกล้ ๆ
กันคือ สมัยพระเจ้าโลก[?]ของในแดนเหตุการณ์ในเวลาที่เกิด แต่ขอข้าม
เรื่องปี พ.ศ. ซึ่งมีความแตกต่างกันอยู่ จะนั่นหัวข้อ "พระอรหันต์มีธรรมที่
เสื่อมได้" น่าจะมีแนวโน้มที่เป็นไปได้มากกว่า "พระอรหันต์ไม่มีธรรมที่
เสื่อม" แต่หัวข้อนพระโอษฐา ผู้เขียนยังไม่สามารถหาคำรองรับได้ เพราะ
มีการกล่าวถึงอย่างแตกต่างกันมากและยังไม่มีรายละเอียดมากในการ
วิเคราะห์
เนื่องจากเอกสารข้อความค่อนข้างกล่าวอย่างแตกต่างกัน ในเบื้องต้นผู้เขียน
ตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับประเด็นปัญหาความสัมพันธ์เรื่อง "ความเสื่อมหรือไม่
เสื่อมของพระอรหันต์และพระโสดาบัน" ที่น่าแปลทั้งหลายจากสายจริต-
ต่าง ๆ แปลมาดังนี้
1) เกิดจากปัญหาเกี่ยวกับต้นฉบับที่นำมาแปล
2) เกิดปัญหาจากทักษะในการแปลของผู้แปล
3) อาจเกิดจากลักษณะกรรมที่มีการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลา กล่าวคือ ในกรณี
ที่เราพิจารณาจาก "ยุคของผู้แปล" และ "ยุคของคัมภีร์" จะเรียงลำดับได้ดังนี้
กถาวัติ→A→Pm→กถาวัตถุอรรถกถา→X→Vinitadeva
(เชิงอรรถ อ่านต่อหน้า 92)