การแปลและการเปรียบเทียบคำภาษาสันสกฤตในพระธรรม Samayabhedoparacanacakra คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (2) หน้า 29
หน้าที่ 29 / 49

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจการแปลคำว่า 'สุข' ที่ปรากฏในบันทึกทางพระธรรม โดยนำเสนอความแตกต่างในการแปลกับฉบับจีนและศัพท์ในภาษาสันสกฤต เช่น vigraha ที่มีหลายความหมายซึ่งรวมถึง 'กาย' และตรวจสอบความหมายที่อาจคลาดเคลื่อน จากการเปรียบเทียบหลายฉบับที่แตกต่างกันในแง่การศึกษาความหมายและการตีความคำศัพท์.

หัวข้อประเด็น

-การแปลคำ
-เปรียบเทียบภาษา
-ความหมายคำว่า 'สุข'
-การศึกษาแนวคิด
-ปัญหาในการแปล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

แปลความอ่านได้ว่า: (เสียงอรรถ ต่อจากหน้า 84) 38 ถ้าแปลตามรูปศัพท์คือ จากที่ผ่านมา... จนกระทั่งถึง 39 ดู Vinîtadeva หัวข้อธรรมลำดับที่ 13 (Teramoto and Hiramatsu 1935: 37). แต่ในคัมภีร์กาวััต และ Bhavya ได้กล่าวตรงข้ามกับคัมภีร์ SB ดูในรายละเอียดที่ Kv: 573-575; Bhavya (มองรูปทั้งหมดด้วยจักขุ, Teramoto and Hiramatsu 1935: 11). ในคัมภีร์กาวัตอัฑฒุอุทธรณฤๅา ได้อธิบายขยายความว่าเป็นหลักธรรมของนิยายมหาสังฆิก (Kv-a: 177-178) 40 X: ในเทห์ถิฺลาวา 發音ว่า。亦有調伏@心。亦有譯@作意; Pm: 若心在定。亦มี话折伏@心恒有。相壞@心恒有。是故夫有上下; A: 禪定中亦有言說。亦調伏@心。亦攝受@思惟. เกิดคำถามเกี่ยวกับการแปลคำศัพท์ว่า สุข ที่ปรากฏอยู่ 2 แห่ง ในบันทึกนี้ ของบันทึกนี้ ควรปลงอย่างไรและสังเกตในเนาจาสันสกฤตคือคำศัพท์คำว่าอะไร ซึ่งมีเปรียบเทียบกับในจำนวนจีนทั้งสามบันท คล้ายมีการแปลที่แตกต่างกัน ดังนั้น ผู้เขียนขอภาวนาเป็นประเด็นดังนี้ 1. เมื่อพิจารณาเชิงคัมภีร์ทางด้านคำแปลเปรียบเทียบในฉบับต่างๆ พบว่า ฉบับบันทึกใช้ว่า สุข 2 แห่ง กล่าวคือ 1) สังสมบุญสุข 2) มีสุข อธิบายขึ้นมานิยมฐานว่าดรงกับคำแปลของฉบับจีนคือ คำที่อยู่เส้นใต้คำบันทึก X, A: 调伏@; Pm: 折伏@ คำที่อยู่เส้นใต้คำบันทึกที่สองของฉบับ X: 調?, Pm: 相壞@; A: 攝@ หรือ 攝受@? จากข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้น ดูเหมือนไม่สอดคล้องกับบันทึกซึ่งในบันทึกจีนทั้งหมดไม่ปรากฏคำว่า “กาย” ผู้เขียนนึ่งฐานว่าคำว่า อาจเกิดจากคำศัพท์ต้นฉบับเป็นคำที่ทำให้แปลไปได้หลายความหมาย และเมื่อสำรวจกทวนสอบคำว่า สุข พบว่า ตรงกับคำศัพท์ว่า vigraha ในภาษาสันสกฤตก็ได้ คำว่า vigraha มีความหมายหลายอย่าง หนึ่งในนั้นหมายถึง “กาย” และเมื่อเปรียบเทียบกับฉบับจีนพบว่า มีเนื้อความตรงกับคำว่า “譬” ในฉบับ X แต่คำว่า “譬” ในฉบับ X คล้ายกับมีความหมายว่า “argument” การกดกิริยา และหากพิจารณาในแง่ที่เดียวกันฉบับ A ใช้คำว่า 攝@ ซึ่งอาจมา จากคำศัพท์สันสกฤตคือ graha แต่คำต่างกันตรงคำ อุปสรค( prefix) vi- เพราะ vi-graha หมายถึง การแยกกัน คือ ปราศจากการยึดจับ ซึ่งไม่ใช่ความ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More