ธรรมธรรมาวา: วรรณารัชวิธีการทางพระพุทธศาสนา Samayabhedoparacanacakra คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (2) หน้า 28
หน้าที่ 28 / 49

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทความนี้พูดถึงความแตกต่างของลักษณะของอริยมรรค 4 โดยใช้หลักการและวิธีการในพระพุทธศาสนา ซึ่งสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับปัญจวิญญาณและลักษณะของญาณ 6 ในการทำความเข้าใจ ธรรมลักษณะ เพิ่มการวิเคราะห์จากการศึกษาและหลักสูตรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เนื้อหานี้สำคัญต่อผู้ศึกษาพระพุทธศาสนาเพื่อให้เห็นภาพรวมของหลักธรรมที่นำเสนอและการตีความในเชิงลึก กรุณาเยี่ยมชมเพิ่มเติมที่ dmc.tv สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการศึกษาพระพุทธศาสนาและหลักธรรม.

หัวข้อประเด็น

-อริยมรรค 4
-ปัญจวิญญาณ
-ญาณ 6
-ธรรมลักษณะ
-หลักธรรมในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมธรรมาวา วรรณารัชวิธีการทางพระพุทธศาสนา ฉบับรวมที่ 3 ปี 2559 [2.1.1.3 หลักธรรมเกี่ยวกับธรรมลักษณะ] [1] รู้ความแตกต่างของลักษณะ(vilaksana*) ของอริยมรรค 4 ด้วยหนึ่ง[ขนฺฐ]ของอันตกิณปัญญา (antikaprajñā*) ที่ปรากฏขึ้น(abhisa-maya*) [2] ในปัญจวิญญาณภาย (pañcavijñānakāya*) มีทั้งคะและวิภาคะ36 [3] รูปและอุปภาพต้องอาศัยญาณ 6(saḍvijñānakāya)37 [4] อินทรีย์ห้ คือ ก้อน[เนอื่]ไม่[สามารถ]เห็นรูปหยาบทั้งหมดได้ด้วยมังสะจักุษฯฯไม่สามารถทำการผสะแในกายผสะแฯฯ39 [5] มีการเปล่งจากในสมารี ในดัก็กก็ทายอยู่ ในมโนสการก็ทายอยู่40 35 X: 以一剎那現觀緣智。通知四諦差別;Pm: 一心正聖觀四諦。一智通四聖諦。及四聖諦;A: 一切知道觀弥聖諦。เมื่อพิจารณาทุกสำนวนข้างต้นแล้ว พบว่าบับ X และบัณณทีบุตมีความใกล้เคียงกันทางด้านการแปล ดูบับ A เป็นบัณณบีที่แตกต่างออกไปจากมากที่สุด และเมื่อพิจารณาในรายการของบับ A สามารถแบ่งวรรณะ และอ่านได้ 2 แบบดังนี้ ①一切認知, 觀生聖諦。②一切知認, 生聖諦。 36 X: 眼等五識身有染染;Pm: 五識中有染浄;A: มี欲刹離欲。ฉบับ A คล้ายกับขาดคำว่า วิญญาณ 5 ไปโดยมีคำค้านสงสัยคือ กล่าว ทางด้านคัมภีร์กถาวัตถูกคล้ายกับมีการถกเถียงเกี่ยวกับประเด็นที่คล้าย ๆ กัน ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ Kv: 3-4. คัมภีร์กถาวัตถุอรรถถาอธิบายว่า เป็นหลักธรรมของ นิภายมหาสังมิฏฺนะกะ (Kv-a: 122-125). 37 X: 色無色界具六識;Pm: 色無色界有六識;A: 色無色界具六識具。Kv: 7-9. คำภีรภัตวดถุตถถา อธิบายว่า เป็นนิภายอัษฏะ (Kv-a: 109-110, 162-163). (เชิงอรรถ อ่านต่อหน้า 85)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More