นิทานอีสป: แหล่งกำเนิดและอิทธิพล ชาดก เรื่องโปรด The Favorite Jatakas หน้า 63
หน้าที่ 63 / 131

สรุปเนื้อหา

นิทานอีสปมีต้นกำเนิดจากนิทานชาดกและได้รับความนิยมในยุคต่างๆ นิทานนี้สอนศีลธรรมผ่านตัวละครสัตว์ โดยอาจมีการรวบรวมมาจากหลายแหล่งในกรีกโบราณ อีสปเองเป็นทาสในเมืองซามอสและมีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจเกี่ยวกับเขา

หัวข้อประเด็น

-ต้นกำเนิดของนิทานอีสป
-ความนิยมในประวัติศาสตร์
-บทเรียนศีลธรรมในนิทาน
-ตัวละครสัตว์ในนิทาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

นิทานอีสปเป็นอีกตัวอย่างหนึ่ง ที่มีเค้าโครงมาจากนิทานชาดก เช่น เรื่องโคนันทิวาสชาดก (นินทิวาสชาดก), กระต่ายตื่นตูม (ทุกทุกชาดก), ถึงก่ำ ได้ทอง (กัณฑุภชาดก – ว่าด้วยถิ่นกำไรได้ทรัพย์ จังมีแจ้งในมหาชูมังชาดก หรือมโหสถชาดก), เต่านำมาภ (กังจปชาดก), นกกระสาถับหมาจิ้งจอก (ชวสุณชาดก), นกกระจาบบาดสามกี (สัมโมทมานชาดก), หมาป่าบูลูกแกะ (ทีปชาดก), อีสป9 (อังกฤษ: Aesop – ศตวรรษที่ 6 ประมาณ 564 – 650 ปี ก่อนคริสตกาล นักเล่านิทานชาวกรีก ในตำนาน กรีก โบราณ นีนานที่กล่าวว่าว่า “อีสป” เชื่อกันว่าเป็นนิทานที่รวบรวมมาจากหลายแหล่ง นิทานอีสปได้รับความนิยมแพร่หลายเนื่องจากว่าวิชาวโรมนชอบเทฟสนานเล่าในแพร่หลาย ในศิริสตัณฑศวรรฐที่ 1 (ระหว่าง พ.ศ. 443-543) และต่อมา “งอม เดอะ ลา ฟงเทน” คิววาชผร็ฟัสได้มานิรเรียนเรียบร้อยเป็นร้อยกรองที่อ่อนเหนือจริงแต่มีชีวิตชาวเมื่อปี พ.ศ. 2211 นิทานอีสปโลว่า นิยมเรียกกันว่า นิทานอีสปเป็นนิทานสอนคนทั่วไปในด้านศีลธรรมโดยใช้สัตว์ต่างๆ เป็นตัวละคร เช่น เรื่องเด็กเลี้ยงแกะ ลางหมากึ่งออกกับงู เป็นต้น อีสป บางตำนาน10กล่าวว่าเกิดในเมืองฟรีเซียในดินแดนที่ปัจจุบันเรียกว่าเอเชียไมเนอร์ ซึ่งเป็นดินแดนที่วิปอริเชียและยุโรปมาผนึกกัน และเป็นดินแดนที่วิเศษสูงเรื่องมากในสมัยอีสานอีสปเป็นแหล่งรวมของบรรดาพ่อคำวาณิช พวกทุจริต นักท่องเที่ยว รวมทั้งเป็นดินแดนที่มีการค้าหาส และอีสปเป็นทาสคนหนึ่ง ซึ่งมีสมญว่า เอโรอป (Ethiop) ซึ่งแปลว่าตัวดำ แต่พวกชาวยุโรปเรียกเสียงเพี้ยนไปเป็น อีสป (Aesop) ชื่อเอโรอปชื่อว่ามาจากชื่อประเทศอีโอเปีย (ต่อมาเปลี่ยนเป็น อะบิสเนีย) แต่บางตำนานบอกว่าวีสปอาจจะมาจากเมืองเทรซ ไพรเคอโลธีโอเปีย ชาวส เอเธนส์ หรือเมืองซาริส ซึ่งไม่มีใครรู้แน่นอน ในชนิดอีสปมฐานะเป็นทาสอยู่ที่เมืองซามอส (Samos) ประเทศกรีซ อีสปเป็นทาสของ อิดมอน หรือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More