ข้อความต้นฉบับในหน้า
กรณีในชาตินี้ เรื่องนี้ คือ พระราชายที่ชาวเมืองชื่นชมช่างเผือก มากกว่าตนเอง
๒. พยาบาท คือ ความคิดร้าย ความรู้สึกไม่ชอบใจสิ่งทั้งหลาย ทั้งปวงได้แก่ความอุ่นใจ ความขัดเคืองใจ ความไม่พอใจ ความโกรธ ความผูกโกรธ ความเกลียด ความผูกใจเจ็บ การมองในแง่ร้าย การคิดร้าย มองเห็นคนอื่นเป็นศัตรู
ลำดับการพัฒนาไปสู่ความพยาบาท
อรติ (ไม่พอใจ) —> ปฏิฆะ (ขัดเคืองใจ) —> โทสะ (โกรธ) —> โทสะ (คิดประทุษร้าย) —> พยาบาท (ผูกใจที่จะแก้แค้น)
๓. เนื้อเรื่องในชาตินี้มิใช่ส่วนที่ละมัยคล้ายกับเรื่อง ปกฤตสมาณวชาต คือพระราชมีความประพฤติไม่ดี เบียดเบียนบริวารของตนเอง ผู้ปกครองหรือผู้นำใจว้าง ก็มีมองกว้าง — คิดโกล — ไฟบ่า ผู้ปกครองหรือผู้นำใจเคบ ก็มีมองเคบ — คิดใกล้ — ไฟต่ำ “นกดีต้องรู้จักเลือกกินนกกะ คนฉลาดต้องรู้จักเลือกนายดี” (คำพูดของดวงอุพูคับเล่าในปีที่ร่อนที่จะสนามเป็นพี่น้อง) “นกทำรังให้ครูมไม้ ชายเลือกาให้ผู้นำให้คู่ใจ” (คำพูดล้อิื่นพูดกับเล่าในเมื่อเขาเข้ามาของรับใช้เล่าในแทนเล่าเจี๊ยง, สามก๊ก) แต่ชาตาในเรื่องนี้ พระโพธิสตว์ เสวยพระชาติเป็นช้างเผือก ก็เลยไม่มีสิทธิ์เลือก เป็นนายภาช้าตัดสินใจเลือกนายให้เทน
๔. เรื่องราวในชาติมักมีเรื่องราวอภิมหา เช่น สัตว์พูดได้ เช่น พยูนก, พยูนวาลพัก หรือ สัตว์บางอย่างที่บินได้ แต่ในยุคปัจจุบันทำไม่ได้ เช่น ช้างเหาะได้
อธิษฐาน หมายถึง น. อำนาจแห่งบรมม์, อำนาจบุญที่สร้างสมไว้, อำนาจ เหนือปกติธรรมดา(ป. อภิษิธาร ส. อิรี + นิส + ทาร).