การวิเคราะห์คำสอนของนายหัตถาจารย์ ชาดก เรื่องโปรด The Favorite Jatakas หน้า 101
หน้าที่ 101 / 131

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้ นายหัตถาจารย์กล่าวถึงพญาช้างและข้อคิดเกี่ยวกับบุญและปัญญา โดยเน้นว่าผู้มีปัญญาทรามจะปฏิบัติตนผิดพลาดและทำร้ายตนเองและผู้อื่น พระราชาที่หวังให้ช้างตกเขาตายถูกเปรียบเทียบกับคนที่มีบุญน้อย ข้อคิดนี้เป็นการเตือนสติถึงความสำคัญของปัญญาและการเลือกทางในการดำเนินชีวิต เพื่อไม่ให้ตกอยู่ในความประมาทและบกพร่องในคุณความดี

หัวข้อประเด็น

-การสอนของนายหัตถาจารย์
-การวิเคราะห์บุญฤทธิ์
-ความสำคัญของปัญญา
-ความเสี่ยงของการมีปัญญาทราม
-วาทกรรมเกี่ยวกับพญาช้าง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

นายหัตถาจารย์กล่าวว่า 'ท้าวบูททวีปิ ชั่งที่ได้ชื่อว่าสักติแล้ว เช่นกับพญาช้างนี้ไม่มีเลย ก็แต่ว่าพระราชาพระองค์นี้ มีพระประสงค์ให้ช้างนั้นตกเขาตายเป็นแน่ไม่ต้องสงสัย คิดแล้วก็กรัซบที่กลั้วว่า "พอเอ่อ พระราชานี้ประสงค์จะให้เจ้าตกเขาตายเสีย เขาไม่คู่ควรแก้ว่าเธอ ถ้ามีมีกำลังพอจะไปทางอากาศได้ก็จงพาเราผู้งงบนหลัง เหาะขึ้นสู่วาไปสู่พระนครพราณสีเกิด พระมหาสัตว์ก็รุ่งพร้อมด้วยบุญฤทธิ์ ได้ยื่นอยู่ในอากาศ ในขณะนั้นเอง นายหัตถาจารย์ก็บอกว่า "บ้านเต่าเหาราช ช่างนี้ถึงพร้อมด้วยบุญฤทธิ์ไม่คู่ควรแก่คนมีบุญน้อย ปัญญาทรามเช่นพระองค์ คู่ควรแก่พระราชาผู้เป็นบัณฑิตถึงพร้อมด้วยบุญ นี้ซื่อว่าคนบุญน้อยเช่นพระองค์ ถึงได้พาหนะเช่นนี้ ก็มีได้รับคุณของมัน รังแต่ว่ายพาหนะนั้นและศาสมบัติที่เหลือให้จินหายไปฝายเดียว" ทั้ง ๆ ที่นั่งอยู่ในอาร้าง กล่าวาคำนี้กว่าว่า :- "ผู้มีปัญญาทราม ได้ศกแล้ว ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ตน ย่อมปฏิบัติเพื่อความเบียดเบียนตนและคนอื่น" ดั้งนี้.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More