ข้อความต้นฉบับในหน้า
บทธนา
เนื่องจากอิทธิพลของนักสิทธิศาสตร์ ทำให้นักวิชาการปัจจุบันจำนวนไม่น้อยได้ใช้ ทฤษฎีของนักสิทธิศตร์ที่มีมากมายหลายค่ายซึ่งจริง ๆ ยังหาดูสรุปไม่ได้มาเป็น มาตรฐานในการวัดหรือองพระพุทธศาสนา ทำให้เกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินขณะบรร
ฉิกฎจรรรม ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2544 ณ ไต้หวัน เหตุการณ์นี้ทำให้ นักวิชาการพระพุทธศาสนาและชาวพุทธที่ไปบางส่วนเริ่มสงสัยว่า คฎรรรมคือสิ่งที่ พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติจริงหรือไม่ หลังจากนั้นในขณะการพระพุทธศาสนาได้มีการ อภิปรายในเรื่องคฎรรรมกับความเสมอภาคทางเพศหรือความเท่าเทียมกันทางเพศ มากขึ้น ดังนั้นผู้เขียนจึงทำงานวิจัยชิ้นนี้โดยสืบหลักฐานจากคัมภีร์ดั้งเดิมมา เป็นหลักในการวินิจฉัยว่า คฎรรรมเป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงจริงหรือไม่ เพราะถ้าหาก คฎรรรมไม่ใช่สิ่งที่พระพุทธเจ้าบัญญัติ ก็ลองไม่จำเป็นที่จะต้องวิเคราะห์ต่อว่าพระ พุทธศาสนามีความเสมอภาคทางเพศหรือไม่
ความสงสัยในเรื่องคฎรรรมนี้ประกอบด้วย 2 ประเด็นใหญ่ คือ
1. คฎรรรมเป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่
2. คฎรรรมเป็นเหตุให้เกิดความไม่เสมอภาคทางเพศหรือ
ซึ่งในบทความนี้ขอข้อสังเกตเกี่ยวกับคฎรรรม 8 ประการ 4 ข้อแรก มา วิเคราะห์ตามลำดับ ส่วนข้อสังเกตเกี่ยวข้องกับคฎรรรมข้ออื่น ๆ และข้อสังเกตนอกเหนือจากคฎรรรม รวมไปถึงการวิเคราะห์ถึงความเสมอภาคทางเพศของคฎรรรม 8 จากนำเสนอในโอกาสต่อไป
ข้อบัญญัติเรื่องคฎรรรม 8 ปรากฏในพระวินัยทั้งสิ้น 6 ฉบับ ของนิยายต่าง ๆ คือ ฉบับลือของเณรวา นอกจากนั้นยังมีพระวินัยปิฎกอีก 5 ฉบับที่ปรากฏในพระไตรภูมิภาษาจีนเล่มที่ 22 - 24 ซึ่งประกอบด้วยพระวินัยปิฎกของนิยายมหาสักขะ (僧律)และนิยายย่อยของสายเณรวา เช่น ธรรมคุปต์ (四分律) มหิจตกะ (五分律) สรวาสติวาท (十誡律) และมูลสรวาสติวาท (根本説一切有律) อีกทั้งยังมี