การปวารณาและความสำคัญในพระพุทธศาสนา ครุธรรม 8เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (1) หน้า 35
หน้าที่ 35 / 39

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาสำรวจการปวารณาในพระพุทธศาสนา โดยยกตัวอย่างการปฏิบัติตัวของภิกษุสูง เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาตนและวัดอย่างเหมาะสม การปวารณาเป็นพิธีกรรมสำคัญที่ช่วยสร้างความสัมพันธ์และการปรับปรุงในสังคมสงฆ์ พระพุทธเจ้าทรงกำหนดให้มีการตักเตือนเพื่อให้ความเข้าใจและการปฏิบัติที่ถูกต้อง โดยไม่มีข้อห้ามเกินเลยจากความเข้าใจดั้งเดิมของภิกษุ.

หัวข้อประเด็น

-การปวารณา
-ภิกษุสูง
-การปรับปรุงตนเอง
-พิธีกรรมในพระพุทธศาสนา
-การตักเตือน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ข้ามแต่แม่เจ้า! ขอสงสัจฟังข้าพเจ้า เพื่อบำรุงภิกษุสูง เพื่อประโยชน์แก่ภิกษุสูง...ภิกษุนี้ที่สงสมฺมตูนนั้น พามิญญาณิสยังเข้าไปหาภิกษุสูงแล้ว ทำคำอธิษฐานเผื่อย่างผังหนึ่ง ประคองอัญชลี พึงกล่าวอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้า ! ภิกษุสงส้อง ย่อมเปราณกกะภิกษุสูง ด้วยได้เห็นดีดี ด้วยได้ฟังดีดี ด้วยรังเกียจ ก็ดี, ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้า ! ขอภิกษุสูงจงอ้าย้ขันตาอย่าภาคีในกล้าวว่า ขิกษุสงสัง, ภิกษุสงสังเขเห็นอยู่จักระทำกัน, ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้า ! แม่ครังที่ 2... ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้า ! แม่ครังที่ 3 ภิกษุสงสัษ หลๆ จักทำคืน ดังนี้ 69 เหตุที่มีข้อกำหนดข้างต้นก็เพราะว่า การปวารณาของภิกษุนี้กับภิกษุในเบื้องต้นนั้นเกิดความโกลาหล พระพุทธเจ้างทรงกำหนดให้ภิกษุนี้ได้รับสมมติพกลุ่มภิกษุไปเพื่อการปวารณาเท่านั้น และจะเห็นได้ว่า การปวารณาเป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่ง ถ้าไม่มีเรื่องที่ต้องถือเดือนอย่างเป็นพิเศษจริง ๆ การปวารณาอาจอัปเป็นขนบธรรมเนียมดังมานั้นและจะควรได้แสดงความจำนงที่พร้อมจะปรับปรุงตนเองส่วนเหตุมีเรื่องที่ภิกษุสูงน่าจะพิจารณาที่ภิกษุสงสังต้องปรับปรุง เพื่อความเหมาะสมและไม่ดง่ำร้อย ก็อือเป็นโอกาสที่จะได้ปฏิสัมพันธและกล่าวตักเตือนใด้อย่างไม่ตีตะขวัญใจ โดยเหตุผลที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติฏรรธรรมข้อนี้ขึ้นเพื่อเป็นโอกาส เพราะการตักเตือนเป็นเรื่องละเอียดอ่อน พระพทดง์ไม่ให้ตรงประสงค์จะให้โอกาสที่ภิกษุจะไปพบกฐินภิกษุนี้ แต่เป็นเพื่อการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ภาพรวมของพระศาสนาเป็นที่เลื่อมใส ซึ่งเราจะสังเกตได้ว่าไม่มีพระวินัยข้อห้ามภิกษุขาดปิฎกฏิบัติภิกษุ เพราะว่าภิกษุไม่เคยทำสิ่งนั้นนั่นเอง และจากการวิเคราะห์ครูธรรม ข้อที่ 3 จะเห็นได้ว่าภิกษุที่กล่าวสอนหรือนักภิกษุนี้นั้น ต้องเป็นผู้ได้รับสมมติ มีความสามารถ เพราะฉะนั้นจึงกล่าวได้ดีกว่าภิกษุจะสามารถตักเตือน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More