ข้อความต้นฉบับในหน้า
6. ภิกษุนี้ต้องแสงหาอุปสมบทในสงฆ์ 2 ฝ่าย เพื่อ ลิกขมนานผู้มี ลิกขาขั้นศึกษาแล้วในธรรม 6 ประการ ธรรมแห่นี้...
7. ภิกษุนี้มิพึงดำ บริกษา ภิกษุโดยปริยอย่างใดอย่างหนึ่ง ธรรมแห่นี้...
8. ตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ปิดทางไม่ให้ภิกษุนี้หลายสอนนิกษุ เปิด ทางให้ภิกษุทั้งหลายสอนนิกษุ ธรรมแห่นี้ ภิกษุนี้ต้องสักการะ เคารพ นับถือ บุชา ไม่ละเมิดต่อชีวิต.
คุรุธรรมแต่ละข้อด้านท้ายมักจะต่อด้วย "ยอมจี ธนโม สกฺตุวา คฤตวา มานุตวา ปูเชฏฺตา ยาวชีวา อนุติมนํโป" มีความหมายว่า "ธรรมแห่นี้ต้องสักการะ เคารพ นับถือ บุชา ไม่ละเมิดต่อชีวิต"4
คุรุธรรม ในทางบลัสคือ "คุรุมนฺธี" ซึ่งในอรรถกถาได้อธิบายไว้ว่า บทว่าคุรุมนฺธี คือด้วยธรรมอันหนัก. จริงอยู่ธรรมเหล่านี้พระผู้พระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า คุรุธรรม เพราะเป็นธรรมอันกินทั้งหลายพิงจะทำความเคารพรับรอง.5 คำว่า "คร" มีนัยยะ ของการเน้นหนัก การให้ความสำคัญ และในหนังสือมคคลจําที่ พระมหาสายะ จานุวโต ได้อธิบายถึง "คร" ว่าหมายถึงการที่ระนาหรือมอง เห็นคุณค่าองค์บุคคลและสิ่งของที่เราเห็น นอกจากนี้ผู้รู้ถึงประโยชน์ข้อดีของสิ่งเหล่านี้ คือนักล่าดพ เพราะฉะนั้นคนที่มีปัญญานักล่าจึงสามารถ "คร" คือ ตระหนัก มองเห็นคุณค่าประโยชน์ข้อดีของคนอื่น หรือสิ่งอื่นที่พบเห็นแล้วนำคุณค่าของสิ่ง เหล่านั้นมาใช้หรืออุ้มเอามาเป็นธรรมของผู้นั้นมาใช้ หรืออาจจะพูดได้ว่าผู้ที่มีครหรือ ความเคารพเป็นผู้มีปัญญา ดังนั้นด้วยหลักธรรมนี้ ผู้ที่ถือครูธรรม หรือมีครธรรม