คัมภีร์ย่อด้านพระวินัยของนักกายสัมผัสติยะ ครุธรรม 8เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (1) หน้า 6
หน้าที่ 6 / 39

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์พระวินัยและครรธรรม 8 ในแง่มุมต่าง ๆ โดยอิงจากพระวินัยฉบับบาลี โดยเฉพาะข้อสุดท้ายที่มีข้อความแตกต่างจากฉบับอื่น โดยให้ความสำคัญกับกิฐญู ซึ่งต้องปฏิบัติตามคำสอนและไม่ละเมิดหลักธรรมตลอดชีวิต ในการศึกษาครรธรรม 8 ข้อ พบว่ามีความคล้ายและแตกต่างในเนื้อหา ซึ่งการวิเคราะห์จึงทำให้สามารถเข้าใจและเข้าถึงหลักธรรมได้ดีขึ้น

หัวข้อประเด็น

-บทวิเคราะห์พระวินัย
-ครรธรรม 8
-กิฐญูและการปฏิบัติธรรม
-ความแตกต่างของข้อความ
-ผลกระทบต่อสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คัมภีร์ย่อด้านพระวินัยของนักกายสัมผัสติยะ (明丁律) การที่พระวินัยของมหาสังฆะและ แถวกฎรวมทั้งนักย่อยที่แตกจากสายเวรวรม 6 นักย่างก็มีข้อบัญญัติของครรธรรม 8 เช่นกัน ทำให้เราสามารถยืนยันได้ว่า ครรธรรม 8 มีมา ตั้งแต่เมื่่อก่อนการแตกม่ายในระหว่าบวชและมหาสังฆะ บทความของท่านทิกุนูชื่อจินาภาว (釈真觀) เรื่อง "จากฐานะสังคมศาสตร์ในอินเดียสู่ยามแห่งครรธรรม 8" ท่านได้นำครรธรรมทั้ง 6 ฉบับที่ไม่รวมฉบับลิม เทียบกันและได้ความเห็นว่าเนื้อของครรธรรมจากพระวินัยทั้ง 7 ฉบับนั้นมีความ คำเหมือนกัน และในแต่ละข้อยังมีข้อความที่ต่างกัน กรอปกับปัญหาครรธรรมในปัจจุบันค่อนข้างซับซ้อน ดังนั้นในการที่จะวิเคราะห์ครรธรรม 8 จึงจำเป็นต้องอ้างครรธรรมบทใดบทหนึ่งมาวิเคราะห์ สำหรับบทวิเคราะห์นี้นำพระวินัยฉบับบาลีมาเป็นหลักฐานในการวิเคราะห์ ในบรรดาครรธรรมทั้ง 8 ข้อ ของพระวินัยนับเป็นหลักฐานหลักในการวิเคราะห์ ในบรรดาครรธรรมทั้ง 8 ข้อ ของพระวินัยนอกจากนี้ ข้อที่มีความต่างอย่างเห็นได้ชัดมีข้อสุดท้าย กล่าวคือ ฉบับอื่นจะกล่าวว่ากิฐญูมีอากามหรือกล่าวความผิดของกิฐญูได้ แต่ฉบับนี้กล่าวว่า กิฐญูมีอาคาสพระกิฐญูได้ ครรธรรม 8 ตามฉบับบาลีมีเนื้อความดังนี้ 1. กิฐญูอายุสมบูรณ์แล้ว 100 ปี ต้องกราบไหว้ ลุกธู ปฏิบัติธรรม สามีกิจกรรม แก่กิฐญูที่อายุสมบูรณ์นั้น นธรรมเช่นนี้ กิฐญูต้อง สักการะ เคารพ นับถือ ฯลฯไม่ละเมิดตลอดชีวิต 2. กิฐญูไม่พึงอิจฉาพระในอาวาสที่ไม่มีฤกษ์ ฐานะเช่นนี้... 3. กิฐญูต้องหวังธรรม 2 ประการ คือ ถามวันอุโบสถ 1 เข้าไปฟัง คำสอน 1 จากกิฐญูทุกกิ้งเดือน ฐานะเช่นนี้... 4. กิฐญูอยู่จำพรรษาแล้ว ต้องวราข ณสงฆ์ 2 ฝ่าย โดยสถาน ทั้ง 3 คือ โดยได้เห็น โดยได้ยิน หรือโดยรังเกียจ ฐานะเช่น... 5. กิฐญูต้องธรรมที่หน้ากแล้ว ต้องประพฤติปฏิบัติมาตในสงฺฆ 2 ฝ่าย ฐานะเช่น...
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More