ข้อความต้นฉบับในหน้า
พระพุทธเจ้าจึงไม่ทรงอนุญาตให้กุศจรรจารไหว้ภูกษตามอายุพรธรรา และอีกประกาศหนึ่งเพื่อให้ทุกผู้เป็นผู้ชำราญได้ทำหน้าที่เป็นครู หรือพระพี่เลี้ยงได้อย่างรุดในเบื้องต้น17 ซึ่งก็ตรงกับคำอธิบายในอรรถกถา ว่า คําว่า ครธธรรม คือ ธรรมอัปภิษฐานี่ฟังเคารพ เพื่อพัฒนาตนเอง นอกจากนั้นก็อธิบายด้วยครธธรรม ถือได้ว่าเป็นการทำทายอย่างหนึ่ง เพื่อพิสูจน์ความตั้งใจจริงที่จะเข้ามาบวชเป็นภิกษุในพระพุทธศาสนา
2. พุทธบัญญัติกับหลักจริยธรรม
จากข้อความในพระสูตรด้านบนได้ยืนยันแล้วว่ากฎธรรมข้อที่ 1 เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติให้ิกษุถือปฏิบัติ และมีบทบัญญัติต่อกุศลด้วยว่า หากกาบไว้ อัญชลีภักุณต้องบังคับทุกกฎ นอกจากยังยืนยันได้ว่ากฎธรรมได้ถูกกำหนดไว้หรือไว้ก่อนแล้ว จึงทำให้พระนางชบิดาคมีเร๋ ขออนุญาตที่จะไม่ทำตามข้อที่ 1 ส่วนเหตุผลที่พระนางปชาดีโคดมมีเร๋ ผู้ฝังธนารบรรจุกรธธรรมไปตลอดชีวิตแล้วทำไมจึงพอใจอ้อนวอนว่ากฎธรรมก็ดี (2548) ในหนังสือการวิเคราะห์ศักดิ์กรณีบุกขันสูงสิง ได้ยกอุทกอธิบายว่า เป็นเพราะพระนางเกรงว่าจะไปในภายหลังมีภิกษุณีกล่าวว่าหวังว่ากฎธรรมเกิดจากพระนางเป็นเหตุที่กําหนดใน ตราภูสูงเลยทำให้พระพุทธเจ้ารงบัญญัติครธธรรมข้อที่ 1 18 แต่การที่พระนางไปยืนถามอีกครั้งเป็นการแก้ตัวคราว ว่าพระพุทธเจ้ารงบัญญัติครธธรรมข้อนี้ไม่ใช่เพราะพระนางเป็นเหตุ หรือใช้เพราะกับกลุ่มพระนางกลุ่มแรก แต่ใช้บทกฎธรรมทั้งหมด ซึ่งในเบื้องต้นพระพุทธเจ้าจะไม่ทรงกําหนดโทษกับผู้ที่มาทำตามครธธรรม แต่หลังจากนั้นก็เข้าไปดูในสาฎาของภิกษุจะเห็นว่า มีบางสิขาบนเนื้อช้ากันเหมือนกับครธธรรม ทำให้ในวิชาการบางท่านตั้งข้อสงสัยในครธธรรมว่ามีจริงหรือทำไมจึงกําหนดในเบื้องต้นได้ว่า เนื่องจากในช่วงแรก
17 Shi, Hengi (1995: 12)
18 รัฐษา (2548: 41-42)
ครธธรรม ๘ เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (1) 128 ธรรมธาราวสาธิวาทพระพุทธศาสนา