ข้อความต้นฉบับในหน้า
ที่มีกิจกรรมที่ต้องทำร่วมกับภิกษุสูงขึ้นเพื่อปกป้องศีล 37 ไม่ใช่การกดดันแต่
อย่างใด 37 พระมหาเถรอัญชุจน์ก็ได้กล่าวในหนังสือ "จุดเริ่มต้นการพัฒนาของ
พระพุทธศาสนามหายาน" และ "หนังสือการก่อตัวของคัมภีร์พระพุทธศาสนาตั้งเดิม"
ว่า ครูธรรมข้อ 2,3,4,6 เป็นธรรมที่คาถา หมายถึงในเมื่ออนั่นสังคมคระหนักถึง
ความอ่อนแอของหญิง และเห็นว่าการศึกษามีความสำคัญกว่าชั้น ดังนั้นจึงเป็น
หน้าที่รับผิดชอบของภิกขุที่ต้องให้ความรู้และทำให้สงอยู่ได้อย่างบริสุทธิ์
38
ภิกษุณีจาวุฬุและพระมหาเถรอัญชุจน์ต่างก็มีความคิดเห็นตรงกันกับบรรทัดฐาน ที่
ครูธรรมนี้ได้สร้างระยะห่างอย่างพอเหมาะ เพื่อความปลอดภัยในการศึกษาและ
เรียนธรรมของภิกษุนี้ ไม่ว่าจะทั้งภายในภายนอกหรือภายในกลุ่มชุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ภัยจากภายนอกที่อาจจะทำอันตรายภิกษุได้ ซึ่งก็มีตัวอย่างไม่น้อยที่ภิกษุถูก
ฆ่ามึน การที่มีภิกขูอยู่ในระยะที่พอจะช่วยเหลือกันได้เป็นสิ่งที่ดี เพียงแต่จะมี
ความคิดเห็น แล้วในยุคสมัยปัจจุบันที่มีความเจริญและความปลอดภัยพอสมควร
ครูธรรมอันนี้ยังมีความจำเป็นอยู่หรือ ไม่ว่าจะดีหรือปัจจุบันไม่ว่าที่ไหนก็อาจจะ
รับประกันได้ว่าจะไม่มีเหตุร้ายสำหรับหญิง
แม้ปัจจุบันจะมีกฎเกณฑ์ไปเที่ยวของเพื่อนหญิงด้วยกัน แต่ในบางสถานที่
จำเป็นต้องมีบรรดาไปด้วย เพราะฉะนั้นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติพระองค์ได้
ตราหน็ดถึงความปลอดภัยของภิกษุนี้ในการรวม
จากด้านบนจึงเห็นได้ว่า ข้อสามที่ไม่ให้ภิกษุจำพรรษาที่ไม่มีภิกษุอยู่เน้น
ไม่ได้เสริมสร้างเสนยานุภาพ อำนาจให้ภิกษุ และก็ไม่ได้จะให้ภิกษุอาศัยภิกษุแก่ภิกษุ
เพียงฝ่ายเดียว หากแต่เป็นไปเพื่อความปลอดภัยของภิกษุสงค์ และความสะดวก
ในการให้ธรรมะ โดยต่างฝ่ายต่างอยู่ในสำนักงานของตนที่ไม่ใกล้กันเกินไป อยู่ในระยะรึ่
เดินถึงกันได้ ใน 1 เดือนมีกิจกรรมร่วมกัน 2 ครั้งในการปรับโอกาสจากภิกษุที่ส่ง