คุรุธรรม 8: เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ ครุธรรม 8เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (1) หน้า 1
หน้าที่ 1 / 39

สรุปเนื้อหา

บทความนี้วิเคราะห์ประเด็นคุรุธรรมว่าเป็นพุทธบัญญัติหรือไม่ โดยใช้หลักฐานจากคัมภีรบำของเถรวาท การวิเคราะห์เรียบเรียงจากเหตุการณ์ขบวนการฉกครุธรรมในปี พ.ศ. 2544 ณ ไต้หวัน ซึ่งนำไปสู่การถกเถียงถึงสุขธรรมว่าเป็นอุปสรรคต่อความบริบูรณ์ทางเพศในพุทธศาสนาหรือไม่ ผลการศึกษามีความสำคัญในการนำเสนอวิจัยและมีการอ้างอิงถึงงานสัมมนาวิชาการนานาชาติที่จัดขึ้นที่มหาวิทยาลัยเจิ้นลี ไต้หวัน ในปี 2007

หัวข้อประเด็น

-คุรุธรรม
-พุทธบัญญัติ
-สุขธรรม
-การพิสูจน์ข้อสงสัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คุรุธรรม 8 เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (1) วิไลพร สุจิตรธรรมกุล บทคัดย่อ จากเหตุการณ์ขบวนการฉกครุธรรม ในปี พ.ศ. 2544 ณ ไต้หวัน ทำให้นักวิชาการและชาวพุทธทั่วไปเริ่มสงสัยว่าสุขธรรมนั้นไม่ใช่พุทธบัญญัติ และเป็นเหตุให้เกิดความไม่สมบูรณ์ทางเพศในพุทธศาสนาหรือไม่ เพราะฉะนั้นบทความนี้จะวิเคราะห์ในประเด็นของคุรุธรรมเป็นพุทธบัญญัติหรือไม่ โดยใช้หลักฐานจากคัมภีรบำของเถรวาทเป็นหลัก และเน้นเกี่ยวกับการพิสูจน์ข้อสงสัยในคุรุธรรมแต่ละข้อ 1 บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของการนำเสนอวิจัย ในงานสัมมนาวิชาการนานาชาติ ศาสนศาสตรประจำปี ค.ศ. 2007 แห่งไต้หวัน ในวันที่ 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2007 ณ มหาวิทยาลัยเจิ้นลี ไต้หวัน และเป็นส่วนขยายของบทความ ที่ตีพิมพ์แล้วใน SUCHARITTHAMMAKUL, Wilaiporn (2008), "On Gender Discourse Theravāda Buddhism: From the Interpretation of Original Buddhist Texts to the Contemporary Meaning on Equality, Collection of Articles on Buddhism By Postgraduate Students No.18, Taiwan R.O.C., 502-575. และด้วยความจำกัดของหน้ากระดาษ สำหรับฉบับนี้จึงขอเสนอเพียง 4 ข้อ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More