คุณค่าของคุรุธรรมในพระพุทธศาสนา ครุธรรม 8เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (1) หน้า 21
หน้าที่ 21 / 39

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอให้เห็นถึงการปรับรูปแบบการปฏิสัมพันธของภิกษุในพระพุทธศาสนาและความสำคัญของการรักษาระยะห่างระหว่างประชาชนกับภิกษุ เพื่อไม่ให้เกิดข้อครหาและเพื่อดำรงไว้ซึ่งความเสื่อมศรัทธา บทวิเคราะห์ยังชี้ให้เห็นถึงความท้าทายของภิกษุหญิงในเรื่องการประพฤติพรหมจรรย์ เมื่อเปรียบเทียบกับภิกษุชายภายในบริบทของคุรุธรรม โดยพระพุทธเจ้าได้ทรงอนุญาตให้ภิกษุเรียนรู้และสอนพระวินัยอย่างเหมาะสม

หัวข้อประเด็น

- ความสำคัญของคุรุธรรม
- การปฏิสัมพันธ์ระหว่างภิกษุกับประชาชน
- การอนุญาตให้ภิกษุสอนวันปิฎก
- ความท้าทายของภิกษุหญิง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประชาชนโบนันซาว่า ก็ภักดีเหล่านี้เป็นมิ่ง เป็นชูองค์ภิกษุภิกษุเหล่านี้อีกครึ่ง กับภิกษุเหล่านี้ ภายหลังพระพุทธเจ้าทรงห้ามภิกษุไปแสดงปาฐกถาในสำนัก ภิกษุ และอนุญาตให้ภิกษุสังฆปฏิบาลกันเอง 35 การปลอมอาบัติเท่ากันในสมัย แรกภิกษุนี้ต้องปลอมอาบัติเป็นภิกษุแต่ด้วยว่าภิกษุนี้ไปพบทอดพบที่่านหรือ ตรอก แล้วโปรงอัษฎะให้ภิกษุอุดโทษอภัยลงโดยว่าจะไม่เอานั้นอื่น ชาวบ้าน เพิ่งโทษโพนทะนาว่า ภิกษุเหล่านี้เป็นมิ่ง เป็นชูองค์ภิกษุพวกนี้ ภิกษุเหล่านี้ล่วง เกินในครรต์ บัดนี้ขอขมา พระพุทธเจ้าจึงทรงอนุญาตให้ภิกษุปลอมอาบัติเป็นนเอง แต่เมื่อเหตุทะเลาะวิวาทในหมู่ภิกษุนี้ พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ภิกษุช่วยระงับ อธิกรณ์ของภิกษุนี้ได้ และด้วยเหตุที่ภิกษุนี้เป็นตาวสีนิของภิกษุนี้อุณาวรมา ติดตามพระพุทธเจ้าในการเรียนพระวินัย 7 ปี แล้วสุดนี้เพื่อวันทีเรียนไว้แล้ว เลื่อนจะตามเสด็จไปกับพระพุทธเจ้าไม่สะดวก ด้วยเหตุนี้พระพุทธเจ้าจึงอนุญาตให้ ภิกษุสงสอนวันปิฎกได้36 จากตัวอย่างด้านบนให้เราทำความเข้าใจว่าพระพุทธเจ้าทรงระวังข้อครหาของ ชาวบ้านหรือประชาชน อันเป็นเหตุนำมาซึ่งความเสื่อมศรัทธาจังมีการปรับรูปแบบการ ปฏิสัมพันธระหว่างภิกษุนี้ส่งเป็นระยะ ไม่ให้ห่างเกิน และไม่ให้ชิดเกิน ห่างเกินก็ฎอการดูแล ยกต่อการปกป้อง ชิดเกินก็จะเป็นข้อครหา เพราะฉะนั้น ระยะห่างที่พอเหมาะของสงสังสอนฝ่ายจึงมีความสำคัญมาก เพราะต่างยึดต้องถี่ที ถ้อยอคัย เพื่อให้พุทธบริษัท 4 ดำรงเป็นปกิณณกัน 3. คุณค่าของคุรุธรรมข้อมนี้ แม้แต่ภิกษุเหล่านี้อุ้มเองก็ยอมรับว่าโดยสภาพร่างกายของหญิงนี้ไม่อาจเทียบ เท่าชาย การที่จะประพฤติพรหมจรรย์ด้วยการอยู่ตามลำพังนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ส่วนการ 35 Vin II: 259; วิจู 7/525/214 (แปลมลวง); วิจู 9/525/4521-16 (แปลมเมอร์) 36 Vin II: 259-260; วิจู 7/528-532/215-216 (แปลมลวง); วิจู 9/528-532/4537-455(แปลมเมอร์) ธรรมาภร วารสารวิชาการพระพุทธศาสนา 137 คุรุธรรม 8 เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (1)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More