การลงโทษและคุณธรรมในพระพุทธศาสนา ครุธรรม 8เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (1) หน้า 30
หน้าที่ 30 / 39

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจประเด็นการลงโทษภิกษุในพระพุทธศาสนา โดยระบุว่าภิกษุที่ทำผิดพระวินัยจะได้รับการลงโทษอย่างไร และมีความสำคัญของคุณธรรมในสมัยพุทธกาลรวมถึงการพิจารณาความเหมาะสมในสังคมปัจจุบัน ในบริบทของท้องถิ่นแต่ละแห่ง การบันทึกประวัติการบินทบาดและการรับโอวาถือเป็นตัวอย่างที่แสดงถึงการมีอยู่และความสำคัญของคุณธรรม ความแตกต่างทางวัฒนธรรมจะมีบทบาทการพิจารณา ซึ่งต้องคำนึงถึงวิถีชีวิตที่แตกต่างกันของแต่ละท้องที่ อย่างไรก็ตาม การรักษาศีลยังคงเป็นการแสดงถึงความตั้งใจและความรับผิดชอบต่อการดำเนินชีวิตในทางธรรม

หัวข้อประเด็น

-การลงโทษภิกษุ
-คุณธรรมในพระพุทธศาสนา
-การรับโอวาท
-บริบททางสังคม
-ศีล 5 และ ศีล 8

ข้อความต้นฉบับในหน้า

นอกจากนีจดูสวรรค์ ภิกษูเชิญชงกะ มีสื่อหาท่านสนใจเกี่ยวกับปฏิบัติของสงฆ์สองฝ่าย อีกประเด็น คือ วิธีการลงโทษ โดยทำให้คอกับฝ่ายไม่อาจรับ เช่นกล่าวคือหากภิกษุทำผิดพระวินัย ก็จะถูกลงโทษโดยห้ามไม่ให้กิริยานามไหว ส่วนหากกิริยาทำผิดพระวินัยก็จะถูกลงโทษโดยงดโอวาท คือ มือนเข้า สู่งสร้าง จักไม่ได้รับการดูแลกิริยาผู้มีความสามารถ จึงเห็นได้ว่าคุณธรรมออกจากจะเป็นข้อปฏิบัติที่รักษาอายุพระวินัยแล้ว ยังมีแห่งการยอมรับและการควบคุมซึ่งกันและกันอยู่ ซึ่งทำให้เห็นภาพชัดว่า ธรรมเป็นธรรมสร้างความสมา ดุลให้เกิดขึ้นในการร่วมกันของสงฆ์อสฝาย การกำหนดคุณธรรรม 8 มีความสำคัญและความจำเป็นในสมัยพุทธกาล แต่ประเด็นว่าคุณธรรมเหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบันหรือไม่ ยังเป็นสิ่งที่ต้องมาพิจารณา เพราะอาจจะเหมาะในบงประเทศ ซึ่งก็ได้ไหนมายุในความว่าเหมาะกับทุกประเทศหรือทุกท้องที่เช่นกัน หรือบางพื้นที่ทำไม่ได้ ก็ได้หมายความว่าท้องถิ่นหรือประเภทอื่นจะไม่สามารถประพฤติปฏิบัติได้ ยกตัวอย่างเช่น การบินทบาด อาจจะเห็นได้ว่าประเทศเบญจวันออกเฉียงใต้ได้สืบทอดองค์ธรรมเนียบการบินทบาดมาอย่างช้านาน และเป็นที่ยอมรับของประชาชน แต่สำหรับในประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนานิยมมายานแล้ว การบินทบาดูเป็นเรื่องแปลก อาจจะกล่าวได้ว่า ความต่างได้มาเมื่อเทียบกับขอทาน จึงทำให้ไม่มีการบินทบาดในท้องนี่่ ๆ ดั้งนั้นสิ่งที่จะยึดเป็นหลักในการพิจารณาคือ ต้องดูบริบททางสังคมของแต่ละท้องที่ หากไม่ขัดกับวิธีชีวิตมาก่อนก็อาจปฏิบัติ การรับโอวาสมีความคล้ายคลึงกับธรรมเนียมการรับศีล 5 และ ศีล 8 ที่ทุกครั้งที่ออาราธนาศีล ก็เป็นการตอกย้ำความตั้งใจที่จะรักษาศีล การรับคุณธรรมของภิณฺฑ์ก็เป็นการตอกย้ำความเป็นกุศลนี้ เพราะคุณธรรมเป็นเหมือนนั้นได้ขึ้นแรก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More