บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค: อาขยาต และ กิตก์ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ 2 อาขยาต และ กิตก์ หน้า 4
หน้าที่ 4 / 65

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเล่มนี้กล่าวถึงหลักการของบาลีไวยากรณ์ในส่วนของวจีวิภาค โดยเน้นการแบ่งกาลที่เป็นประธาน เช่น กาลปัจจุบัน, กาลล่วงหน้า พร้อมตัวอย่างการใช้ในประโยคที่ชัดเจน. คุณสามารถศึกษาเชิงลึกบนเว็บไซต์ dmc.tv.

หัวข้อประเด็น

-บาลีไวยากรณ์
-วจีวิภาค
-อาขยาต
-กิตก์
-การใช้กาลในบาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กิตก์ - หน้าที่ 153 ๖. อชฺชตฺตนี ป. อี. อา. Q. ม. โอ." ตฺถ. เส. วห์. อุ อ." มหา. อ๋. มเท. ๓. ภวิสฺสนฺติ ป. สฺสติ. สฺสนฺติ. สฺสเต. สฺสนเต. ม. สฺสสิ. สฺสถ. สฺสเส. สฺสวเห. Q. สฺสามิ. สสาม. สฺสํ. สสามเห ๘. กาลาติปตฺติ ป. สฺสา. สฺสํสุ. สฺสถ. สสส. ม. สฺเส. สฺสถ. สฺสเส. สฺสเท อุ สฺสํ. สฺสามหา. สฺสํ. สฺสามหเส กาล (๑๑๐) ในอาขยาตนั้น แบ่งกาลที่เป็นประธานได้ คือ กาล ที่เกิดขึ้นจำเพาะหน้า เรียกว่าปัจจุบันกาล ๑, กาลล่วงแล้ว เรียก ๑. มักรัสสะเป็น อิ เช่น กริ บ้าง, ลง ส. อาคม เป็น สิ เช่น อกาส บ้าง. ๒. ลง สฺ อาคมเป็น สุ้ เช่น อาโรเจส์ บ้าง, แผลงเป็น อิสฺ เช่น อภิสุ บ้าง. เป็น อีสุ เช่น กรีส บ้าง, ๓. ใช้ อี ป. แทนโดยมาก. ๔. ลง สุ อาคม เป็น สึก เช่น อกาสึ บ้าง. ๕. ใช้แทน สฺสามิ เช่น ลภิสส์ บ้าง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More