บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กิตก์ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ 2 อาขยาต และ กิตก์ หน้า 62
หน้าที่ 62 / 65

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้มีการวิเคราะห์และอธิบายเรื่องของธาตุในภาษาบาลี โดยเริ่มต้นจากตัวอย่างธาตุที่มี มุ และ หุ รวมถึงการประยุกต์ใช้ธาตุต่างๆในความหมายที่แตกต่างกัน พร้อมทั้งยกตัวอย่างศัพทที่เกี่ยวข้องกับการแปรธาตุ เช่น ปกฺกนฺโต ทนฺโต และคำอื่น ๆ ที่มีลักษณะเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจการใช้งานและการแปลงของธาตุในภาษาอย่างถูกต้อง

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาภาษาบาลี
-ธาตุในบาลี
-การแปรธาตุ
-ตัวอย่างวจีวิภาค
-อาขยาตและกิตก์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กิตก์ - หน้าที่ 211 ธาตุมี มุ เป็นที่สุดอยู่หน้า แปลง ต เป็น นุต แล้วลบ ที่สุดธาตุ. ปกฺกนฺโต หลีกไปแล้ว, ปกมุ ธาตุ ในความ ก้าวไป ทนฺโต ทรมานแล้ว. ทม ธาตุ ในความ ทรมาน สนฺโต ระงับแล้ว. สมุ ธาตุ ในความ สงบ, ระงับ ธาตุมี หุ เป็นที่สุดอยู่หน้า แปลง ต เป็น ฬห แล้วลบ ที่สุดธาตุ รุฬโห งอกแล้ว, รุหุ ในความ งอก. มุฬโห หลงแล้ว. มุหฺ ธาตุ ในความ หลง วุฬโห อันน้ำพัดไปแล้ว, วุหุ ธาตุ ในความ ลอย. ศัพท์ที่ประกอบด้วยปัจจัยนี้ บางศัพท์ก็ใช้เป็นนามกิตก์บ้าง เหมือนบทว่า พุทฺโธ เป็นต้น. ตูน. ตวา. ฺวาน. กาตูน. กตุวา. กตุวาน. ทําแล้ว. คนตน. คนตวา. คนฺตฺวาน. ไปแล้ว. หนตน. หนตวา. หนฺตฺวาน. ฆ่าแล้ว. อุปสัคอยู่หน้า แปลงปัจจัยทั้ง ๓ เป็น ย. อาทาย ถือเอาแล้ว. อา+ทา ธาตุ ในความ ถือเอา ปหาย ละแล้ว. ป+หา ธาตุ ในความ ละ นิสสาย อาศัยแล้ว, นิ+สี ธาตุ ในความ อาศัย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More