บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ 2 อาขยาต และ กิตก์ หน้า 7
หน้าที่ 7 / 65

สรุปเนื้อหา

ในบทที่ 2 ของบาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค หน้านี้อธิบายเกี่ยวกับอาขยาตและกิตก์ โดยเน้นถึงการบอกอดีตกาลและคำแปลที่สำคัญ เช่น 'ดึง' และ 'แล้ว' พร้อมตัวอย่างที่ช่วยในการเข้าใจนี้รวมถึงการจัดรูปแบบประโยคต่างๆ สามารถศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับความแตกต่างของคำในอดีตและการนำไปใช้ในภาษาได้ที่เว็บไซต์ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-บทนำเกี่ยวกับบาลีไวยากรณ์
-อาขยาตและกิตก์
-การบอกอดีตกาล
-การแปลและตัวอย่างคำ
-กฎการใช้คำในบริบทต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กิตก์ - หน้าที่ 156 ๓. บอกความรำพึง แปลว่า 'ดึง' อุ. ยนนูนา - หิ ปพฺพชเชยุย ไฉนหนอ เรา พึงบวช. ๒ ๓ ๔. ปโรกฺขา ๒ အာ บอกอดีตกาล ไม่มีกำหนด แปลว่า 'แล้ว' อุ. เตนา - ห ภควา ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาค ตรัสแล้ว อย่างนี้ กล่าวแล้ว. ๒ ๒ เตนา - ทุ โปราณา ด้วยเหตุนั้น อาจารย์มีในปางก่อน ท. ๒ က 0 ها ๕. นิยตฺตนี บอกอดีตกาล ตั้งแต่วานนี้ แปลว่า แล้ว, ถ้ามี "อ" อยู่หน้า แปลว่า 'ได้-แล้ว' อุ. ขโณ โว มา อุปจฺจคา, ขณะ อย่า ได้เข้าไปล่วงแล้ว ๒ ๓ ๔ ซึ่งท่าน ท. เอวํ อวจ์ [ข้า) ได้กล่าวแล้ว อย่างนี้ ๒ ๒ ๒ ๖. อชฺชตฺตนี 0 ๔ บอกอดีตกาล ตั้งแต่วันนี้ แปลว่า 'แล้ว" ถ้ามี 'อ' อยู่หน้า แปลว่า 'ได้ - แล้ว' ๑. • อุปจฺจคา [อุป+อติ+อ+คม+อ+อา.]
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More