บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กิตก์ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ 2 อาขยาต และ กิตก์ หน้า 50
หน้าที่ 50 / 65

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้จะพูดถึงหลักไวยากรณ์บาลี โดยเฉพาะในด้านวจีวิภาคในภาคที่ ๒ ซึ่งจะอธิบายการทำและการเกิดขึ้นของคำในรูปแบบต่างๆ พร้อมชี้แจงตัวอย่างการใช้เวณตามบทบาทในภาษา เช่น การเสียดแทงและการนำไปของภาระ ผ่านการใช้ธาตุและแนวคิดทางไวยากรณ์ที่เกี่ยวข้อง. รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถศึกษาได้ที่ dmc.tv.

หัวข้อประเด็น

- ไวยากรณ์บาลี
- วจีวิภาค
- อาขยาต
- การศึกษาภาษา
- ธาตุและบทบาทในภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กิตก์ - หน้าที่ 199 ณ. กมุม กโรตี-ติ กมฺมกาโร [ผู้ใด ย่อมทำซึ่งกรรม. เหตุนั้น [ผู้นั้น] ชื่อว่าผู้ทำซึ่งกรรม. กมุม เป็นบทหน้า กรุ ธาตุ ในความ ทำ, วิธีพฤทธิ์ และลบ ณ ปัจจัย ได้กล่าวแล้วในโคตตตัทธิต (๑๐๓), เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ รุชฺชตี - ติ โรโค. (อาพาธใด ย่อมเสียดแทง, เหตุนั้น [อาพาธนั้น] ชื่อว่าผู้เสียดแทง, รุช ธาตุ ในความ เสียดแทง, เอา เป็น คุ เพราะ ณ ปัจจัย ช วทิตพฺโพ - ติ วาโห [ภาระใดๆ อันเขาจึงนำไป, เหตุนั้น [ภาระนั้น] ชื่อว่าอันเขาจึงนำไป, วหุ ธาตุ ในความนำไป, เป็น กัมมรูป กัมมสาธนะ ปจน์ ปาโก. ความหุงชื่อว่าปากะ, ปจ ธาตุ ในความ หุง ต้ม. เอา ๆ เป็น กุ เพราะ ณ ปัจจัย เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ ทุสฺสติ เตนา - ติ โทโส. (ชนใด ย่อมประทุษร้าย ด้วย กิเลสนั้น, เหตุนั้น กิเลสนั้น ชื่อว่าเป็นเหตุประทุษร้าย [แห่งชน.] ทุสุ ธาตุ ในความประทุษร้าย, เป็นกัตตุรูป กรณสาธนะ อาวสนฺติ เอตฺถา - ติ อาวาโส. ภิกษุ ท.] ย่อมอาศัยอยู่ ในประเทศนั้น, เหตุนั้น (ประเทศนั่น] ชื่อว่าเป็นที่อาศัยอยู่ [แห่ง ภิกษุ ท.] อา เป็นบทหน้า, วสุ ธาตุ ในความ อยู่, เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธนะ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More