บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค: อาขยาต และ กิตก์ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ 2 อาขยาต และ กิตก์ หน้า 51
หน้าที่ 51 / 65

สรุปเนื้อหา

บทนี้ได้กล่าวถึงการทำความเข้าใจในด้านบาลีไวยากรณ์ โดยเฉพาะในช่วงของอาขยาตและกิตก์ การวิเคราะห์คำและการประยุกต์ใช้ธาตุเกี่ยวข้องกับปัญญาและการระลึกถึง อรรถประโยชน์ในการศึกษาและการทำความเข้าใจทางภาษาบาลีจะถูกอธิบายอย่างละเอียด ในการศึกษาเหล่านี้จะมีการวิเคราะห์จากสามกลุ่ม ได้แก่ กัตตุรูป กรณสาธนะ และภาวรูปฯ พร้อมด้วยการเปรียบเทียบและอธิบายความเชื่อมโยงในการเรียนรู้.

หัวข้อประเด็น

-ไวยากรณ์บาลี
-อาขยาต
-กิตก์
-การวิเคราะห์ธาตุ
-ความรู้และการระลึก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กิตก์ - หน้าที่ 200 ตเว. การเว เพื่อจะทำ กรุ ธาตุ เป็น กา. คนฺตเว เพื่อจะไป คม ธาตุ เอาที่สุดธาตุเป็น นุ. ปัจจัยนี้ลงในจตุตถีวิภัตตินาม ติ มญฺญตี - ติ มติ. (ปัญญาใด ย่อมรู้, เหตุนั้น (ปัญญานั้น] ชื่อว่าผู้รู้, มญฺญติ เอตายา - ติ วา มติ. อีกอย่างหนึ่ง [ชน] ย่อมรู้ ด้วยปัญญานั่น. เหตุนั้น (ปัญญานั่น] ชื่อว่าเป็นเหตุรู้ [แห่งชน]. มนน์ วา มติ. อีกอย่างหนึ่ง ความรู้ ชื่อว่ามติ มนุ ธาตุ ใน ความรู้, ลบที่สุดธาตุ, วิเคราะห์ต้น เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ, วิเคราะห์กลาง เป็นกัตตุรูป กรณสาธนะ, วิเคราะห์หลัง เป็น ภาวรูป ภาวสาธนะ. สรตี - ติ สติ, ธรรมชาติใด ย่อมระลึก, เหตุนั้น [ธรรมชาตินั้น] ชื่อว่าผู้ระลึก, สรติ เอตายา - ติ วา สติ อีก อย่างหนึ่ง [ชน] ย่อมระลึกด้วยธรรมชาตินั่น เหตุนั้น (ธรรมชาติ นั่น] ชื่อว่า เป็นเหตุระลึก [แห่งชน], สรณ์ วา สติ อีกอย่างหนึ่ง ความระลึก ชื่อว่าสติ, สรุ ธาตุในความ ระลึก สมฺปชฺชิตพฺพา - ติ สมฺปตฺติ [ธรรมชาติใด) อันเขาพึงถึง พร้อม, เหตุนั้น (ธรรมชาตินั้น] ชื่อว่าอันเขาพึงถึงพร้อม, & เป็น บทหน้า ปท ธาตุ ในความถึง, เอาที่สุดธาตุ เป็น ๆ เอานิคคหิต ๑. က ปัจจัยเก่าชุดนี้มี ๓ คือ ตเว เช่น ปหาตเว, เนตเว, ตเย เช่น เหตุเย, ตาเย เช่น ทกฺขิตาเย.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More