การไม่ประมาทในชีวิต รวมพระธรรมเทศนา ๑ หน้า 21
หน้าที่ 21 / 59

สรุปเนื้อหา

เรื่องราวนี้เล่าถึงพ่อค้าที่ถวายอาหารให้พระเจ้าและสนทนากับพระอานนท์เกี่ยวกับชีวิตและอันตรายของมัน พระอานนท์เตือนพ่อค้าเรื่องความไม่ประมาทในชีวิต โดยบอกว่าเขามีชีวิตอยู่เพียง 7 วัน พ่อค้าจึงรีบทำความดีและถวายสังขทานในเวลาที่เหลือ ก่อนที่เขาจะสิ้นชีวิตด้วยความมีบุญและเข้าถึงธรรมภายใน การไม่ประมาทและเร่งทำความดีจะนำไปสู่ความสุขในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-หลักธรรมในการไม่ประมาท
-การรู้คุณค่าของเวลา
-อันตรายของชีวิต
-การทำความดีในช่วงท้าย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พ่อค้าได้ถวายอาหารกับพระเจ้า พระอานนท์จึงถือโอกาสสนทนากับพ่อค้าคนนั้น โดยถามว่าท่านจะอยู่ที่นั่นนานไหม? พ่อค้าตอบว่า "กระผมเดินทางมาไกล ส่จะเดินทางต่อไปอีก ก็กลัวจะเสียเวลาเสียงงาน จึงตั้งใจจะอยู่ขายสินค้าที่นี่ ฉนดลอดฤดูกาล" พระอานนท์จึงบอกญาณว่าสว่า "อันตรายของชีวิตรู้ได้ยาก ทำไมท่านมัวแต่ประมาทในชีวิตเล่า" "ซ้แต่มาท่านผู้เจริญ อันตรายอะไรหรือกลัีมเกาะรผม" "อุบาสก ท่านจะมีชีวิตอยู่ก็เพียง ๗ วันเท่านั้น" พ่อค้าได้ฟังเช่นนั้น เกิดความสดใจ จึงตั้งใจเวลาที่เหลืออยู่ เราต้องรีบทำความดี เพราะตอนนี้ชีวิตเราดูไม่ไกล้ฝังกิ็ง ตั้งใจจะถวายสังขทานโดยมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นประธานตลอด ๗ วัน ในวันที่ ๗ พระศาสดาได้ทนานโอวาทว่า "ดู่ก่อนอุบาสก ธรรมดาบัญติไม่ควรประมาท อย่าคิดว่าเราจะอยู่ในนี้ ประกอบการงานตลอดฤดูทั้ง ๓ ควรคิดถึงความตายบ้าง" แล้วสรัสเทนกน่าไม่ให้ประมาทในชีวิต พอเทศนาจบ พระคำก็มีดวงตาเห็นธรรม เข้าถึงธรรมภายในพระโสดาบัน เมื่อพระศาสดาเสด็จกลับ พ่อค้าเดินตามไปส่ง พระพุทธองค์และหมู่แห่งกิฎฐ พอกลับมาถึงที่พัก เกิดปวดศีรษะกะทันหัน จนอนพัก แล้วก็สิ้นชีวิตนั้นเอง แต่ด้วยอนารีสังแห่งบุญที่ได้ตั้งใจในช่วงปลายชีวิตตลอด ๗ วัน และมีดวงตาเห็นธรรม จึงได้ไปบังเกิดในสวรรค์ชั้นลุดจากเรื่องนี้ เราทั้งหลายจะได้ข้อคิดว่า ชีวิตดุจไม่คงอยู่ใกล้ความตายทุกขณะจะตายเมื่อไร ที่ไหน กำหนดวัน เวลา สถานที่ไม่ได้เหมือนดังที่ริมคลอง ซึ่งจะถูกระแสน้ำให้พังลงไปทุกวัน ชีวิตของเรา ก็เช่นเดียวกัน ย่อมถูกระแสน้ำแห่งความชั่ว ความโลภ และความตาย ชะตาให้แตกดับไปได้ทุกเมื่อ บุคคลใดไม่ประมาทในการดำเนินชีวิต หนักแต่เตือนตัวเองอยู่เสมอ และรีบเร่งทำความเพียร ชีวิตของเขาย่อมประสบความสุขอย่างแน่นอน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More