ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมะ 10
วาสนา วิถีของชีวิตทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมที่ 10) ปี 2563
เหล่านี้สามารถนำไปสู่ความวีวิวกันในข้อปฏิบัติ ที่เรียกว่า วิถีทิศ3 ในหมู่ชาวพุทธชิน ได้ ทั้งที่โดยความเป็นจริงแล้ว อาจเกิดจากตัวผู้ปฏิบัตเอง ยังปฏิบัติได้ไม่ถูกต้องในหลักการ วิธีการของสำนักนั้นๆ หรือวิธีการปฏิบัตินั้นๆ อาจจะไม่เหมาะสมกับวิธีอธัยยของตนเอง หรือเป็นการติความไปจากความเข้าใจ โดยที่ยังไม่ได้เข้าไปศึกษ以及ปฏิบัติในสำนักนั้นๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งการปฏิบัติในแต่ละสำนักล้วนแต่มีความโดดเด่นในการสอนแตกต่างกันออกไป อันเป็นไปตามวิถีอธัยย ทักษะ ความชำนาญ ประสบการณ์ และเวลาการปฏิบัติที่ได้ฝึกฝนมา จนเชี่ยวชาญจากการปฏิบัติของเจ้าสำนักแต่ละท่าน อีกทั้งแต่ละสำนักก็มีแนวแห่งสายการปฏิบัติที่สืบทอดกันมา และต่างก็มีพัฒนาการ คือ อาจสอนด้วยหลักการเดียวกัน แต่วิธีการต่างกัน หรือวิธีการเดียวกัน แต่มีการประยุกต์รายละเอียดวิธีการปฏิบัติ และคืดค้นเทคนิควิธีการต่างๆ หรืออาจแนะนำด้วยคำพูดที่อธิบายแตกต่างกัน ซึ่งต่างมีเหตุผลในการใช้วิธีการปฏิบัติต่างกันไปตามเหตุปัจจัยของตนเองและผู้ปฏิบัติ แต่สาระสำคัญในการสอนการปฏิบัติของแต่ละสำนักก็มีรูปแบบแตกต่างกันไปนั่นแท้จริงแล้วก็ล้วนแต่มีจุดมุ่งหมายในกานนำ ผู้เข้าร่วมปฏิบัติ ให้บรรลุผลแห่งการปฏิบัติในระดับใดระดับหนึ่ง ตั้งแต่ระดับเบื้องต้น คือการได้พบความสุข จนกระทั่งสุดพันจากก็เสอสะเป็นเป้าหมายเดียวกันทั้งสิ้น
ดังนั้น ผู้จ๋อจึงสนใจศึกษา รูปแบบการพัฒนาจิตของรวมฐาน 5 สายหลักในประเทศไทย ซึ่งมีหลักการและวิธีการที่เหมืนและแตกต่างกัน มีข้อดีและข้อเด่นแตกต่างกันออกไป ค้นนำไปสู่การทำความเข้าใจในหมู่ปฏิบัติด้วยกัน
3 ส.ค. 19/1612/525 (บาลี), ส.ค. 19/01079/589 (ไทย มจร)