การฝึกสติในพระพุทธศาสนา การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย หน้า 33
หน้าที่ 33 / 49

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้สำรวจเกี่ยวกับการฝึกสติในหลักการของพระพุทธศาสนา โดยนำเสนอวิธีการที่แตกต่างกันในแต่ละสาย เช่น สายพุทโธ สายอานาปานสติ และสายสัมมาอะระหัง ซึ่งแต่ละสายมีวิธีการกำหนดสติในอิริยาบถที่ไม่เหมือนกัน มุ่งเน้นที่การพัฒนาจิตและความเข้าใจในสภาวะความเป็นจริงที่เกิดขึ้น สามารถนำไปปรับใช้ได้ในการฝึกภาวนาและการพัฒนาอารมณ์ของผู้ปฏิบัติ

หัวข้อประเด็น

-การฝึกสติ
-พุทโธ
-อานาปานสติ
-การพัฒนาจิต
-สายการปฏิบัติ
-ความจริงของรูปนาม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมธารา วิทยาลัยวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวบรวม 10) ปี 2563 สำหรับอินทรีย์เกิดขึ้น ซึ่งแต่ละสายก็กำลังกล่าวถึงการสำรวมนินทรียใน แม้ที่เป็นลักษณะจากการฝึกจิตกับวิธีการที่กำหนดนั้นๆ 4) การกำหนดสติทุกอิริยาบถ ทุกสายการปฏิบัติเกี่ยวกับการฝึกสติเป็นรากฐานการปฏิบัติที่จะนำ ไปสู่การพัฒนาจิต ซึ่งสติในที่นี้เรียกว่าเป็นสติปัญญา โดยแต่ละสาย การปฏิบัติจะใช้วิธีการที่แตกต่างกัน กล่าวคือ สายพุทโธ จะใชการกำหนดสติทุกอิริยาบถโดยให้อยู่กับคำกาวนา และตาามจิต สายอานาปานสติ จะใชการกำหนดสติอยู่กับลมหายใจ และสภาวะ ความว่างในทุกอิริยาบถ สายพองหนอ-ยูหนอ จะใชการกำหนดสติร่วมกับอารมณ์ต่างๆ ที่ปรากฏให้เป็นปัจจุบัน โดยมีคำวาวนากับ สายรปนาม ใช้การกำหนดสติ ควบคู่กับโยนิโสมนสิการ ที่จะทำให้ เห็นความจริงของรูปนามที่ปรากฏอยู่ในขณะนี้ สายสัมมาอะระหัง ใช้การกำหนดสติอยู่กับดวงใจและศูนย์กลาง กายในทุกอิริยาบถ โดยสรุปลักษณะของรูปแบบที่นำมาใช้ในการฝึกปฏิบัติของแต่ละ สำนัก มีความแตกต่างกัน ดังปรากฏในตาราง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More