ธรรมอธาร: การพัฒนาจิตและการปฏิบัติธรรมในสังคมไทย การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย หน้า 21
หน้าที่ 21 / 49

สรุปเนื้อหา

วารสารธรรมอธาร อธิบายการปฏิบัติธรรมในประเทศไทยและเมียนมา โดยเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของทั้ง 5 สายที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน ตั้งแต่สมัยพระโมคลัลุคริตสเตระจนถึงปัจจุบัน การศึกษาเน้นย้ำถึงการส่งต่อกรรมฐานที่สำคัญผ่านพระมหาเกณฑ์ฯ และพระอริยสงฆ์ในสายต่าง ๆ ซึ่งมีบทบาทในการบรรลุมรรคผลนิพพานและดับทุกข์ให้กับตนเองและผู้อื่น โดยการปฏิบัติเสร็จไปปฏิบัติด้วยตนเองจึงเป็นเครื่องมือที่ชัดเจนในการพัฒนาจิตใจของพุทธศาสนิกชนในสังคมไทย

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติธรรม
-การพัฒนาจิต
-เปรียบเทียบสายกรรมฐาน
-ประวัติศาสตร์กรรมฐาน
-แนวทางการบรรลุนิพพาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมอธาร วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวม 10) ปี 2563 เป็นการแสดงธรรมเทศนา แนะนำการปฏิบัติเสร็จไปปฏิบัติด้วยตนเอง ส่วนท่านที่มีผลการปฏิบัติดี ก็จะเข้าหลักสูตรปรปฏิบัติแบบเข้มเพื่อการบรรลุมรรคผลนิพพาน และดับทุกข์ให้กับตนเองและผู้อื่น 3. วิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรมฐาน 5 สายในสังคมไทย จากการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการปฏิบัติธรรมของ 5 สายหลักที่มีอยู่ในประเทศไทย ทำให้สามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบได้ดังต่อไปนี้ 3.1 เปรียบเทียบความเป็นมาของสายการปฏิบัติ การปฏิบัติในแต่ละสายปฏิบัติส่วนมีประวัติการปฏิบัติที่สืบเนื่องกันมาโดยอาจแบ่งการปฏิบัติทั้ง 5 สายตามแหล่งกำเนิดได้เป็น 2 แห่ง คือประเทศไทยและประเทศเมียนมา โดยในประเทศเมียนมามีการกล่าวถึงวิถีสนวรงค์ คือการปฏิบัติวิถีสนวรงค์ฐานที่สืบทอดมาแต่พระโมคลัลุคริตสเตระ สำหรับในประเทศไทยมีการกล่าวถึงกรรมฐานแบบโบราณซึ่งสืบทอดมาแต่พระราชาเจ้า ในหลักฐานของทั้ง 2 สายสืบทอดนั้น ต่างก็ได้กล่าวอธิบายถึงการส่งต่อกรรมฐานจากอดีต มาจนปัจจุบันว่า ผ่านพระมหาเกณฑ์ฯ พระอริยสงฆ์ในสายสายทั้ง 2 นี้ ต่างก็ได้กล่าวอธิบายถึงการส่งต่อกรรมฐานจากอดีต มาจนปัจจุบันว่า ผ่านพระมหาเกณฑ์ฯ พระอริยสงฆ์ในสายสายทั้ง 2 นี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More