การศึกษาบริบทเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรมสุขภาพจิต 5 แนวในสังคมไทย การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย หน้า 20
หน้าที่ 20 / 49

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของสายการสอนวิปัสสนา 5 สายในประเทศไทย โดยเน้นการปฏิบัติการนั่งสมาธิแบบต่างๆ ซึ่งรวมถึงการสอนจากอาจารย์ชื่อดังทั้งในและต่างประเทศ อธิบายแนวทางการฝึกสมาธิที่มีวัตถุประสงค์ในการบรรลุวิปัสสนาญาณและการหมดกิเลส รวมถึงข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับประวัติการสอนและแนวทางปฏิบัติ การสำรวจการสอนของสมาธิสายต่างๆ ทั้งยังชี้ให้เห็นถึงกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาจิตใจในผู้ปฏิบัติ ทั้งเพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุดในทางด้านจิตใจ และการทำความเข้าใจความจริงเกี่ยวกับรูปนาม โดยนำเสนอการสอบอารมณ์และกระบวนการฝึกที่แตกต่างกัน

หัวข้อประเด็น

-การนั่งสมาธิ
-การพัฒนาจิต
-วิปัสสนา
-ประวัติอาจารย์
-สายการสอนวิปัสสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การศึกษาบริบทเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรมสุขภาพจิต 5 แนวในสังคมไทย A Comparative study on Patterns of Mind Development of Five Meditation Lineages in Thai Society การนั่งสมาธิ และการกำหนดอธิบายอย่างนี้เป็นไปตามลำดับขั้น เน้นการฝึกเข้มตามขั้นตอนอย่างต่อเนื่องในสถานที่ปฏิบัติ มีจุดมุ่งหมายให้บรรลุวิปัสสนาญาณ และหมดกิเลสในที่สุด โดยมีการสอบอารมณ์รายบุคคล 4. การปฏิบัติสายูปนาม เป็นที่รู้จักในประเทศไทยโดยการสอนของอาจารย์แนม มหันต์รานันท ซึ่งเป็นศิษย์เอกของท่านภัททันตะวัดลาสะภิกขาวเมียนมา ซึ่งได้เดินทางมาเข้ามาสอนวิปัสสนากรรมฐานในประเทศไทย ตามประวัติเพื่อว่าท่านอาจารย์ทันทะ เป็นผู้ที่แตกตานทั้งพระไตรปิฎก อรรถกถาและอภิธรรม จากการเข้าศึกษาหลักสูตรพระจา พระไตรปิฎกของคณะสงฆ์เมียนมา และได้ออกเผยหาอาจารย์สอนวิปัสสนา และได้ไปศึกษาความรู้จากปฏิบัติยนีมากจากโยม ชื่อ อุดมคุณ ซึ่งเป็นศิษย์ของอาจารย์มินกุณ สยาดอ ซึ่งได้ค้นพบการปฏิบัติจากการเข้าถึงตัวปฏิบัติจากมติฐานถึง 10 ปีจึงเข้าใจ และท่านวิลาสะ ก็ได้ไปศึกษาต่อกาวราวท่านนี้ 4 เดือน จนจะเห็นหนทางจริงแท้ยาญญาณ24 มีหลักปฏิบัติ คือ การฝึกสมาธิฐานเนืออิริยาบถ 4 เพื่อกำหนดรูปนามปัจจุบัน มุ่งให้รู้ความจริงเกี่ยวกับรูปนาม ฯลฯ เท่านั้น กิจกาสที่เกิดขึ้น โดยไม่มีรูปแบบปฏิบัติ และไม่มีการสอบอารมณ์ 5. การปฏิบัติสายสมาธะว่า หรือที่รู้จักกันว่าเป็นแนวการปฏิบัตของพระมงคลเทพมุนี (หลวงพ่อวัดปากน้ำภาษีเจริญ) หรือที่เรียกว่าการปฏิบัติตามแนววิชชาธรรมกาย ซึ่งเกิดจากการค้นคว้าปฏิบัติอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน มีหลักปฏิบัติ คือ การกำหนดบริกรรม นมิตเป็นดวงแก้ว บริกรรมภาวนาว่าสมาธิจะสำเร็จ และเอาใจไว้ศูนย์กลางกาย ใช้การนั่งสมาธิและการฝึกในทุกอิริยาบถ มุ่งให้ปฏิบัติได้ถึงพระธรรมกายใน แล้วจึงไปเจริญวิชชา รูปแบบการสอน _______________________________ 24 แนบ มหาณีรานนท์, แนะแนวทางการปฏิบัติวิปัสสนา วิสุทธ 7, พิมพ์ครั้งที่ 5, (กรุงเทพมหานคร: บริษัทเคล็ดไทย จำกัด, 2548), 17 ภาคนวล
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More