คุณสมบัติของผู้นำในการปฏิบัติธรรม การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย หน้า 27
หน้าที่ 27 / 49

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงคุณสมบัติของผู้นำที่สร้างสายการปฏิบัติธรรม ซึ่งต้องมีประวัติและการศึกษาที่มุ่งมั่น พวกเขานำเสนอแนวทางการปฏิบัติจากครูบาอาจารย์หรือพระไตรปิฎก โดยมีจุดมุ่งหมายในการสร้างประโยชน์ต่อผู้อื่น ผ่านการสอนและการเผยแผ่หลักการปฏิบัติ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงคุณสมบัติพิเศษของพระอาจารย์ต้นสาย เช่น หลงปูมั่น และหลวงพ่อวัดปากน้ำ ที่ส่งเสริมการสอนแบบมีความเข้าใจในจิต รวมถึงหลวงพ่อมหาสีลาดอ และหลวงพ่อพุทธทาส ที่มีการถ่ายทอดธรรมผ่านตำราและเนื้อหาที่ชัดเจน

หัวข้อประเด็น

-คุณสมบัติของผู้นำในการปฏิบัติธรรม
-การถ่ายทอดธรรม
-พระอาจารย์ต้นสายและความสำคัญ
-การปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา
-บทบาทของกัลยาณมิตร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ฎรรมฐาน วาสนาวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวม 10) ปี 2563 จากประวัติของผู้นำกำเนิดสายการปฏิบัติทั้งหมดจะว่า มีคุณสมบัติอยู่ 4 ประการ คือ 1) ผู้นำให้กำเนิดท่านนั้น ล้วนมีประวัติ ในการเข้าสู่เส้นทางด้านการปฏิบัติ เริ่มตั้งแต่โจมวัย 2) ได้แสดงห แนวทางปฏิบัติ อันมาจากบุคคลที่เป็นครูบาอาจารย์ด้านการปฏิบัติ หรือจากพระไตรปิฎก 3) ได้ใช้เวลามุ่งเทอย่างจริงจังทั้งในแงของการ ปฏิบัติ หรือในแง่ของการศึกษาภาคปฏิบัติที่นำสู่การปฏิบัติ จนทำให้เกิด ผลการปฏิบัติประจำตัวเอง และเกิดความมั่นใจในการปฏิบัติว่าจะมี ผลจริง และ 4) มีจิตใฝ่มุ่งหวังทำประโยชน์เพื่อผู้อื่น คือ เมื่อปฏิบ จน ได้ผลแล้ว ก็จะทำหน้าที่ในการเทคனைสอน อธิบาย และนำสิ่งที่ตนเอง ปฏิบัติได้มาถ่ายทอดแก่ผู้อื่น หรือได้มีการจัดตั้งสำนักงานปฏิบัติขึ้น ซึ่งครู บาอาจารย์ต้นสายทั้ง 5 นั้น ล้วนมีสมบัติข้อนี้ คุณสมบัติในการเป็น ผู่มุ่งหวังประโยชน์ให้กับผู้อื่นในระดับที่ทำให้สามารถเผยแผ่คำสอน ด้านการปฏิบัติ จนปลวกปลายเป็นครูบาอาจารย์ต้นสายปฏิบัติขั้นต้นๆ นอกจากนั้น ยังได้มีการกล่าวถึงคุณสมบัติพิเศษของพระอาจารย์ ต้นสาย คือ หลงปูมั่น และหลวงพ่อวัดปากน้ำ ที่มีความสามารถใน การสอนแบบรู้จักจิต อันเป็นที่ประจักของบรรดาศิษย์ จึงทำให้การ ปฏิบัตินั้นแพร่หลาย หรือหลวงพ่อมหาสีลาดอ และหลวงพ่อพุทธทาส มีคุณสมบัติเพิ่ม คือ การถ่ายทอดธรรมผ่านตัวอักษร ออกมาเป็น ตำรา ซึ่งมีเนื้อหาครบถ้วนโดยเฉพาะในด้านการปฏิบัติ ปรากฏ เผยแผ่ออกสู่สาธารณชนอีกด้วย ซึ่งลดคล้องกับคุณสมบัติของการเป็น กัลยาณมิตรผู้ให้กรรมฐานตามที่ปรากฏในคัมภีร์สุดิมรรต ที่ควรเป็น ภิกษุผู้วางจิต25 หากมิได้อาจารย์เช่นนั้นก็อาจวิดอาจารย์เป็นพฤฒ๖
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More