การศึกษาบทเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิต การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย หน้า 28
หน้าที่ 28 / 49

สรุปเนื้อหา

การศึกษานี้มุ่งเป้าไปที่การเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตในหลากหลายสาย โดยเฉพาะสายกฤตรอ สายพองหนอ-ยูบหนอ สายอานาปานสติ สายปนาม และสายสัมโปะอะหัง ซึ่งทุกสายต่างมุ่งหวังที่จะให้ผู้ปฏิบัติสามารถดับกิเลสและบรรลุวิพัฒนาระดับสูงสุดอย่างนิพพาน สายพฤโตรใช้นำสมถะก่อน แล้วจึงใช้วิปัสสนาเพื่อเข้าถึงการเห็นความเป็นไตรลักษณ์ ในขณะที่สายอานาปานสติมุ่งไปที่การรับรู้ลมหายใจและสภาวธรรมในขณะต่างๆ ข้อมูลนี้เป็นการศึกษาที่สะท้อนให้เห็นถึงแนวทางและจุดมุ่งหมายในการปฏิบัติของแต่ละสาย ที่มีความเชื่อมโยงไปยังคำสอนของพระพุทธองค์

หัวข้อประเด็น

-การเปรียบเทียบวิธีการพัฒนาจิต
-เป้าหมายในการปฏิบัติ
-รูปแบบการปฏิบัติในแต่ละสาย
-การบรรลุผล นิพพาน
-คำสอนของพระพุทธองค์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การศึกษาบทเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรมสุขภาพจิตในประเทศไทย A Comparative study on Patterns of Mind Development of Five Meditation Lineages in Thai Society 3.3 เปรียบเทียบเป้าหมายของการปฏิบัติ เป้าหมายในการปฏิบัติของสายกฤตรอ มุ่งเป้าให้ผู้ปฏิบัติ ละกิเลสอาสะวะ สายพองหนอ-ยูบหนอ มุ่งเป้าเพื่อการบรรลุวิสสนา ษญาณ สายอานาปานสติ มุ่งเป้าเพื่อให้ผู้ปฏิบัติทุกฅ และไม่ยึดมั่น ถือมั่น สายปนาม มุ่งเป้าเพื่อให้รู้จักปนาม รู้จักความเป็นจริงของชีวิต และสายสัมโปะอะหัง มุ่งเป้าเพื่อดวงจรการบังคับบัญชาของกิเลส กล่าวโดยสรุปแล้วทุกสายปฏิบัติวันนี้มีเป้าหมายในการสอนเพื่อให้ ดับกิเลส หยุดพันจากทุกฅ โดยทุกสายล้วนกล่าวถึงการบรรลุผล นิพพานว่าเป็นเป้าหมายสูงสุดในการปฏิบัติ ซึ่งสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ของพระพุทธองค์ที่ทรงสอนสรรพสัตว์เพื่อให้ออกจากทุกฅ และพา ไปสู่ฝ่าพระนิพพาน 3.4 เปรียบเทียบรูปแบบการปฏิบัติพัฒนาจิต 1. วิธีการที่ใช้ในการพัฒนาจิต สายพฤโตรใช้หลักการสมถะนำหน้าวิปัสสนา โดยใช้กรรมฐาน หลายประเภท ทั้งกฺรรมฐาน มรณานุสติต พุทธานุสติ โดยเนื่องหลักคือการใช้คำบรรยายกว่านวดจิตเมื่อจิตลงเป็นสมาธิ จึงใช้การ พิจารณาร่างกายและธาตุ 4 ให้เห็นความเป็นไตรลักษณ์ในระดับวิปัสสนา สายอานาปานสติ ใช้การปฏิบัติตามหลักอานาปานสติสูตร เป็นสมาธินำหน้าวิปัสสนาและวิปัสสนาลัดสั้น โดยใช้การกำหนด ลมหายใจ และรู้สภาวธรรมที่เกิดขึ้นในทุกขณะทีมีลมาหายใจ จนไม่เกิด ความยึดมั่นถือมั่น เห็นความว่างในกายและจิต มีการปฏิบัติทั้งแบบที่ใช้ คำบรรยายและไม่ใช้คำบรรยาย สายพองหนอ-ยูบหนอ ใช้การเจริญวิปัสสนาตามหลักสติปฏิบัติสูตร
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More