การศึกษาเปรียบเทียบแนวปฏิบัติของจิตประเภทของรวมฐาน 5 สายในสังคมไทย การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย หน้า 14
หน้าที่ 14 / 49

สรุปเนื้อหา

บทความนี้ศึกษาเปรียบเทียบแนวปฏิบัติการพัฒนาจิตในสังคมไทย โดยนำเสนอรายละเอียดวิธีการพัฒนาจิตตามพระไตรปิฎก โดยเฉพาะพระสูตรสติปัฏฐานสูตร มีการอธิบาย 4 หัวข้อหลัก คือ การพิจารณากาย การพิจารณาเวทนา การพิจารณาจิตตา และการพิจารณาคุณธรรม พร้อมขั้นตอนการปฏิบัติและการนำไปสู่วิธีการขจัดกิเลสอย่างเป็นระบบในยุคปัจจุบัน. ข้อมูลนี้เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจในด้านการพัฒนาจิตและการปฏิบัติธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา ซึ่งอาจช่วยให้เข้าใจถึงแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้องเพื่อพัฒนาจิตให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาแนวปฏิบัติ
-วิธีการพัฒนาจิต
-พระไตรปิฎก
-สติปัฏฐานสูตร
-ผลของการปฏิบัติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การศึกษาเปรียบเทียบแนวปฏิบัติของจิตประเภทของรวมฐาน 5 สายในสังคมไทย A Comparative study on Patterns of Mind Development of Five Meditation Lineages in Thai Society 2) วิธีการพัฒนาจิตโดยแสดงเป็นระบบขั้นตอน วิธีการพัฒนาจิตตามที่ปรากฏในพระไตรปิฎกส่วนใหญ่ จะมีเฉพาะชื่อวิธีการ โดยมีได้ระบุรายละเอียดวิธี And ขั้นตอนในการปฏิบัติ แต่มีพระสูตรสำคัญ 2 พระสูตรที่ได้บรรยายวิธีการอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนให้รายละเอียดในการปฏิบัติ และระบุถึงผลคือการนำไปสู่การหมดกิเลสได้ ซึ่งเป็นพระสูตรสำคัญที่นำมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติยุคปัจจุบัน กล่าวคือ (1) สติปัฏฐานสูตร ซึ่งใจความโดยสังเขปในมหาสติปัฏฐานสูตร13 ดังนี้ 1. กายานุปัสสนา การพิจารณากายหรือดามดูขันกาย มีรายละเอียดวิธีการพิจารณาอีก 6 วิธี ได้แก่ 1) อานาปานสติ 2) กำหนดอิริยาบท 3) สัมปชัญญะ 4) ปฏิญาณสิกา 5) อธุตมิกา 6) นิสสิกิกา 2. เวทนานุปัสสนา การพิจารณาเวทนาที่เกิดขึ้น คือ เมื่อเกิดความรู้สึกสุข ทุกข์ หรือเฉย ๆ ทั้งที่เป็นชนิดมีอามิส และไม่มีอามิส ก็รู้ชัดตามที่ปรากฏตามสภาวะนั้น ๆ 3. จิตตานุปัสสนา การพิจารณารู้เท่าทันจิตตนเอง คือ รู้ว่าจิตของตนในขณะนั้น ๆ มีราคา ไม่มีราคา มีโสะ ไม่มีโทสะ มีโมหะ ไม่มีโมห์ พึ่งซาน เป็นสมาธิ หูดพัน หรือไม่หลุดพัน เป็นต้น 4. ธมมานุปัสสนา การพิจารณาคุณธรรม คือ 1) นิรวาณ 2) ขันธ์ 5 3) อายุณะ 4) โพชงค์ 5) อธิษฐาน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More