การศึกษาบริบทเปรียบเทียบการพัฒนาจิตในสังคมไทย การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย หน้า 32
หน้าที่ 32 / 49

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการพัฒนาจิตในสังคมไทย โดยศึกษาเปรียบเทียบระหว่างสายการปฏิบัติทั้งห้า ที่มีการประณีตในท่านั่ง การวางมือ และการกำหนดอารมณ์ ผ่านการปฏิบัติด้วยการนั่งสมาธิและการเดินจงกรม ที่มีเทคนิคแตกต่างกันไปสำหรับแต่ละสาย ซึ่งส่งผลต่อวิธีการพัฒนาจิต 'การปฏิบัติด้วยการเดินจงกรมและการนั่งสมาธิเป็นแนวทางการปฏิบัติหลักที่ถูกกำหนดให้ ใช้พัฒนาจิตอย่างมีประสิทธิภาพโดยอาศัยเทคนิคการกำหนดอารมณ์ในขณะปฏิบัติ'

หัวข้อประเด็น

-การนั่งสมาธิ
-การกำหนดอารมณ์
-สายการปฏิบัติ
-การเดินจงกรม
-พัฒนาจิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การศึกษาบริบทเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของฐานรากฐานในสังคมไทย A Comparative study on Patterns of Mind Development of Five Meditation Lineages in Thai Society 2) การนั่งสมาธิ สำหรับท่านั่งของทุกสายการปฏิบัติมีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ การนั่งโดยเอาเท้าขวาทับเท้าซ้าย มือวางทับมือซ้าย ถือเป็นท่านั่งมาตรฐาน โดยท่านั่งอื่นๆ ให้ผู้ปฏิบัติได้เลือกใช้ได้ตามแต่เหมาะสม เช่น ท่านั่งแบบนั่ง ขาขวา ทาขัดสมาธิเดียว เป็นต้น ส่วนการวางมือในท่านั่งจะมีลักษณะต่างกันออกไปในแต่ละสาย โดยส่วนใหญ่จะมีได้กำหนดตายตัว มีเฉพาะสายสมาธิอะลัง ที่กำหนดการวางมือให้อยู่มือขาวจรดหัวแม่มือข้างซ้ายวางไว้บนหน้าตัก การปฏิบัติด้วยการเดินจงกรม และการนั่งสมาธิ ถือเป็นลักษณะการปฏิบัติหลักของทุกสาย ที่กำหนดไว้เป็นวิธีการในการปฏิบัติเพื่อพัฒนาจิต และด้วยเทคนิคการปฏิบัติที่ต่างกันจึงทำให้การปฏิบัติถูกแบ่งแยกออกไปให้หลายเป็นสายต่างๆ 3) การกำหนดอารมณ์ทางสายทั้ง 5 สายพองหนอ-ยูบหนอ ได้กล่าวถึงวิธีการฝึกจิตโดยใช้การตามกำหนดดูอารมณ์ทางสายทั้ง 5 คือ เมื่อเห็นรูปได้ยินเสียงได้กลิ่น ลิ้มรส ถูกต้องสัมผัสใด ๆ ก็มีการกำหนดสติไว้แต่ละสายเพื่อให้ทั้งอารมณ์ที่ปฏิกูลูนและใช้คำาว่าตรงกับสถานะ คือ เห็นหนอๆ ได้ยินหนอๆ ได้กลิ่นๆ หนอ รสหนอๆ ถูกหนอๆ ซึ่งเป็นการกำหนดอารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน การปฏิบัติในสายอื่นๆ อีก 4 สาย มิได้กล่าวถึงลักษณะการกำหนดอารมณ์ที่ปรากฏทางสายต่างๆ โดยเฉพาะ แต่ก็ปรากฏเป็นลักษณะของการสำรวมมินทรีที่เกิดขึ้นจากการฝึกสติ โดยอาศัยคำว่าว่า กำหนดลมหายใจ การกำหนดดูในตัวปัจจาม และการบริหารมินจ ซึ่งการที่นำสัตว์ไปจ่ายกับอารมณ์หรือสถานะเหล่านั้น ย่อมเป็นการทำให้การ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More