การพัฒนาจิตในพระพุทธศาสนา การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย หน้า 13
หน้าที่ 13 / 49

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้เสนอการอธิษฐานและการพัฒนาจิตตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะการปฏิบัติตามวิธีการต่างๆ ที่นำไปสู่ความบริสุทธิ์และการหลุดพ้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติที่เอื้อให้สาวกรับรสแห่งอภิญญาและบารมี ซึ่งมีหลักการต่างๆ เช่น พรหมวิหาร สติปัฏฐาน และอื่นๆ ที่เริ่มต้นจากการอธิษฐานจนถึงการตระหนักถึงการหลุดพ้น ข้อมูลในหนังสือนี้ล้วนรวบรวมจากคำสอนและหลักธรรมของพระบรมศาสดา ตัวอย่างการพัฒนาจิตในเจริญวิธีการปฏิบัติเหล่านี้มีความหลากหลายและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

หัวข้อประเด็น

-การอธิษฐาน
-การพัฒนาจิต
-พระพุทธศาสนา
-ความบริสุทธิ์
-4 พรหมวิหาร
-มรรคมีองค์8
-อภิญญา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมอารฺ วาสาวัชวิชากางทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวม 10) ปี 2563 4) อธิษฐานในช่วงของผลคือความบริสุทธิ์ที่พัฒนาขึ้นไปตามลำดับ ซึ่งปรากฏในฐิติวัตร พระปุณณมัณฑนุปุตรได้อธิบายให้พระสาริบุรทราบถึงเป้าหมายของการประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อบรรลุอนุปาทเปนินทาพล โดยมีเป้าหมายไปตามลำดับ เรียกว่า วิสุทธิ 7 อันแสดงความบริสุทธิ 7 ขันธ์ที่เป็นเสมือนธ 7 ผลคือความหลุดพ้น คือ สัลวิสุทธิ จิตวิสุทธิ ทิตจิตวิสุทธิ กังขาวิตรณวิสุทธิ มักคามคตญาณ ทัสสนวิสุทธิ ปฏิปาญาณทัสสนวิสุทธิ ญาณเทสนวิสุทธิ10 การพัฒนาจิตในเจริญวิธีการปฏิบัติ 1) วิธีการพัฒนาจิตปรากฏโดยชื่อ ในคำภีร์ร้องคุตตรนิกาย เอกนิบาต อปริจารงาสังฆามวรรค ได้แสดงรายชื่อของการปฏิบัติประกอบด้วยการปฏิบัติตาม 4 พรหมวิหาร 4 สติปัฏฐาน 4 สัมปราย 4 อธิษฐาน 4 อินทรีย์ 5 โภชนงค์ 7 มรรคมองค์ 8 อภิภาวะ 8 วิภวิธ 8 กลิ่น 10 สัญญา 20 อนุสตติ 10 อินทรีย์ 5 พล 5 ประกอบด้วยมาน 4 และพรหมวิหาร 411 ในมหาสกุลกายอสูตร พระพุทธเจ้าได้ตรัสบอกแก่กุฏฏะยิ่งขอปฏิบัติที่พระองค์ทรงประทานแก่พระสาวกอันเป็นทางให้สิ่งความสงบความตรัสรู้ ซึ่งเป็นเหตุให้สาวกของพระองค์ได้รับรสที่สูงแห่งอภิญญาและบารมี ซึ่งประกอบด้วยโพธิปกิยธรรม 37 วิภวิ 8 อภิภาวะ 8 กลิ่น 10 มาน 4 และวิภาว 8 ซึ่งมีหัวข้อปฏิบัติเทียบจะเป็นแบบเดียวกันกับในอังคุตตรนิกาย เอกนิบาต ต่างที่ไม่มีสัญญา 20 และอนุสตติ 1012
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More