ธรรมอาหร - การพัฒนาจิตตามหลักวิปัสสนา การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย หน้า 29
หน้าที่ 29 / 49

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการพัฒนาจิตตามหลักกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน โดยมุ่งเน้นการพิจารณาสภาวะของร่างกาย และการใช้คำภาวนาในการเจริญสติ ตามหลัก 4 อริยาบท รวมถึงการใช้เทคนิคในการเจริญวิปัสสนา การนับบริกรรมมินิด และการพิจารณาไตรลักษณ์ ซึ่งมีความสำคัญในพระพุทธศาสนา การปฏิบัตินั้นมีหลากหลายวิธีตามหลักในคัมภีร์สุขวิบูรณ์และพระไตรปิฎก

หัวข้อประเด็น

-กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
-วิปัสสนา
-สติปัฏฐาน 4
-กรรมฐาน 40
-การพัฒนาจิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมอาหร อาคารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมที่ 10) ปี 2563 ที่มือรามหลัก คือ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ด้วยการพิจารณาอาการของยูบของหน้าท้อง และมีคำบริการตามกำหนดรู้ลักษณะที่ปรากฏว่า พองหนอ ยุนหนอ อันจัดเป็นธรรมานุสติการ และใช้สติพิจารณาสภาวะต่างๆให้ปรากฏเป็นปัจจุบัน ทั้งที่เกิดในด้านนอนนิจจและธรรมและมีการใช้คำภาวนาตามลักษณะที่ปรากฏนั้นๆ สายูปนาม ใช้การเจริญวิปัสสนาตามหลักสติปัฏฐาน 4 โดยการใช้การเจริญสติในอริยาบททั้ง 4 ให้ปรากฏเป็นเพียงรูปนามเป็นหลักและไม่ใช้คำภาวนา สายสมาธะระหว่าง ใช้หลักการสมถะนำหน้าวิปัสสนา โดยใช้การนับบริกรรมมินิด อโลกกสิล คือ ดวงใส ควบคู่กันใช้คำบริการภาวนาว่าสมาธะระหว่าง โดยมีฐานที่ตั้งของใจอยู่ ณ กลางท้อง เรียกว่า ศูนย์กลางกาย แล้วจึงเจริญวิปัสสนาพิจารณาไตรลักษณ์ด้วยญาณทัสนะเมื่อเข้าถึงพระธรรมกายแล้ว หากพิจารณาดูจะพบว่า วิธีการที่ใช้ในกายพัฒนาจิตของตนสายกายปฏิบัติ อ้างถึงหลักปฏิบัติ 3 หลักปฏิบัติ ตามที่ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกและคัมภีร์สุขวิบูรณ์ คือ 1) สติปฏิบัติสูตร และ 2) อานาปนสติสูตร ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก และ 3) กรรมฐาน 40 ซึ่งมีวิธีการนินมิดและคำภาวนา ซึ่งปรากฏอยู่ในคัมภีร์สุขวิบูรณ์และพบว่ามีแนวยึดหลักปฏิบัติเช่นเดียวกัน แต่การอธิบายในทางปฏิบัตินั้น แต่ละสายก็จะมีวิธีการเฉพาะเป็นของตนเอง และหยิบยกวิธีการปฏิบัติขึ้นมาเฉพาะเป็นบางส่วน มีได้ใช้วิธีการตามที่ปรากฏในคัมภีร์ทั้งหมด ซึ่งหากสรุปวิธีการที่ใช้ในการปฏิบัติของทุกสายั้น จําแนกตามเทคนิคที่ใช้ปรากฏดังนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More